Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เวลาเย็น, เวลา, เย็น , then เพลา, ยน, เย็น, วลา, เวล, เวลา, เวลาเย็น, เวฬา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เวลาเย็น, 219 found, display 151-200
  1. สีติ : (อิต.) ความหนาว, ความเย็น. สิ เสวายํ, ติ, ทีโฆ.
  2. สีติภาว : ป. ความเย็น, ความสงบ
  3. สีติภูต : ค. เป็นผู้เย็น, เป็นผู้เงียบ, เป็นผู้สงบ
  4. สีติภูติ : (วิ.) เป็นธรรมชาติเย็นเป็นแล้ว.
  5. สีโตทก : (วิ.) มีน้ำเย็น
  6. สุริยกาล : (ปุ.) การแห่งพระอาทิตย์, เวลากลางวัน.
  7. เสฎฺฐ : (อิต.) เถ้า, เถ้าเย็น, ถ่านเย็น.
  8. โสตฺถิย : (ปุ.) โสตถิยะ ชื่อพราหมณ์ผู้ถวายหญ้าแด่พระมหาบุรุษตอนเย็นวันตรัสรู้. ใช้เป็นชื่อของพราหมณ์ทั่วไปด้วย. พม่า และ ฎีกาอภิฯ เป็นโสตฺติย วิ. สุตฺตํ พฺรหฺมสุตฺตํ อธิเตติ โสตฺติโย.
  9. หิม : (นปุ.) ความหนาว, ความเย็น, ฤดูหนาว, น้ำค้าง, หิมะ ชื่อละอองน้ำที่แข็งรัดตัว มีลักษณะเหมือนปุย. วิ. หึสตีติ หิมํ. หึสฺ หึสายํ, อ, สสฺส โม, นิคฺคหิตโลโป. อตฺตโน สีตลภาเวน สตฺเต หิโนตีติ หิมํ. หิ หึลายํ, อิโม. หิโนตีติ หิมํ. หิ คติยํ. อภิฯ ปถวีปพฺพตาทีสุ หิโนติ ปตตีติ หิโม. หิ คติยํ, โม. กัจฯ และ รูปฯ ลง ม ปัจ. และเป็น ปุ.
  10. อกรณียกิจฺจ : (นปุ.) กิจอัน....ไม่พึงทำ, กิจอัน....ไม่ควรทำ, อกรณียกิจ.กิจอันบรรพชิตไม่ควรทำ (ทำไม่ได้) มี๔ อย่าง.ความเป็นจริงกิจที่บรรพชิตไม่ควรทำทั้งสิ้น ชื่ออกรณียกิจ ที่ท่านยกขึ้นกล่าวเพียง ๔ อย่างนั้นกล่าวเฉพาะข้อที่สำคัญซึ่งล่อแหลมต่อการขาดจากความเป็นบรรพชิตและเพื่อให้เหมาะแก่เวลาเมื่ออุปสมบทเสร็จ.อกรณียกิจของคนทั่วไปได้แก่ กายทุจริต วจีทุจริต และมโนทุจริต.
  11. อกาลิก : (วิ.) ประกอบด้วยกาลหามิได้, ไม่ประกอบด้วยกาล, ให้ผลมิได้เลือกซึ่งกาล, ให้ผลไม่เลือกเวลา, ให้ผลตลอดเวลา, ให้ผลทุกเวลา. เป็นคุณบทของพระธรรมบทที่ ๓ ใน ๖ บทพระพุทธศาสนาสอนว่าการทำความดีหรือความชั่วไม่เกี่ยวกับฤกษ์ยามทำเวลาไหนได้ผลทั้งสิ้น จะเป็นผลดีหรือชั่วแล้วแต่การทำ
  12. อจฺฉราสงฺฆาตมตฺต : (วิ.) ชั่วเวลาลัดนิ้วมือ
  13. อฑฺฒรตฺต : (ปุ. นปุ.) เที่ยงคืน, เวลาเที่ยงคืน, ครึ่งคืน, กึ่งราตรี.วิ.รตฺติยาอฑฺฒํอฑฺฒรตฺโต.อฑฺฒญฺจตํรตฺติจาติวาอฑฺฒรตฺโต.รตฺติยาวาอฑฺฒํอฑฺฒรตฺตํ.วิปริยโย(กลับบทหน้าไว้หลัง).
  14. อติวิกาล : ค. เวลาวิกาลมาก
  15. อติสายณฺห : (ปุ.) เย็นนัก, ค่ำนัก, ดึกนัก, ดึกมาก.
  16. อนฺตกาล : (ปุ.) กาลแห่งความตาย, เวลาตาย.ส.อนฺตกาล.
  17. อนฺตรามรณ : นป. ความตายในระหว่าง คือ ตายก่อนเวลาที่สมควร
  18. อนาคต : (ปุ.) กาลยังมาไม่ถึง, กาลที่ยังมาไม่ถึง, เวลาภายหน้า.ส.อนาคต.
  19. อนาปุจฺฉา : (อิต.) การไม่มอบหมายอุ.เสนา สนํอนาปุจฺฉาปกฺกมนฺติภิกษุท. ไม่มอบหมายเสนาสนะหลีกไป.การไม่บอกลาอุ.อนาปุจฺฉาวิกาเลคามํปริเสยฺยนฺติ.ภิกษุ ท. ไม่บอกลาเข้าไปบ้านในเวลาวิกาล
  20. อภิโทส : ป. พลบค่ำ, ย่ำค่ำ, เย็นวานนี้
  21. อภิลกฺขิตกาล : (ปุ.) กาลอัน...กำหนดแล้ว, เวลาที่กำหนด, อภิลักขิตกาล.
  22. อร : (ปุ. นปุ.) ดอกบัว, ซี่, ซี่จักร, กำ (ซี่ของล้อรถหรือเกวียน), ส่วนเวลา, เครื่องเล่น.อรฺคติยํ, อ.ส.อร.
  23. อวิห : (ปุ.) อวิหะชื่อของรูปพรหมชั้นที่ ๑๒ชื่อของภพเป็นที่เกิดของอวิหพรหมชื่อของพรหมผู้ไม่ละสถานที่ของตนโดยเวลาเล็กน้อย.วิอปฺปเกนกาเลนอตฺตโนฐานนวิชหนฺตีติอวิหา.พรหมผู้ไม่เสื่อมจากสม-บัติของตนวิ.อตฺตโนอตฺตโนสมฺปตฺติยานหายนฺตีติอวิหา.
  24. อสมย : ป. ไม่ใช่สมัย, ไม่ใช่เวลา
  25. อสาหส : นป., ค. ไม่รุนแรง, ไม่ผลุนผลัน, เยือกเย็น, สงบ
  26. อาคเมติ : ก. รอคอย, รอเวลา, รอต้อนรับ
  27. อาจมนปาทุกา : อิต. เขียงเท้าสำหรับใส่เมื่อเวลาล้างชำระ
  28. อาภิโทสิก : ค. เนื่องด้วยเย็นวานนี้, ตอนเย็น, ที่บูดเน่า, ค้างคืน
  29. อายติ : (อิต.) อันไป, การไป, เวลาต่อไป, ความเป็นของยาว, ความเป็นของยืดยาว, เดชอันเกิดแต่อาชญา, เดชอันเกิดจากมีอำ-นาจลงอาชญา.อาปุพฺโพ, อิคติยํ, ติ.ส.อายติ.
  30. อายุ : (ปุ. นปุ.) ธรรมชาติเป็นเครื่องเจริญแห่งสัมปยุตธรรม, ความเป็นไป, ชีวิต, ชิวิติน-ทรีย์, ชนมพรรษา, ชันษา, อายุ(เวลาที่ดำรงชีวิตอยู่เวลาชั่วชีวิตของสิ่งนั้นๆ).วิ.เอนฺติสตฺตาเอเตนาติอายุ.อิคติยํ, ณุ.อถวา, อาปุพฺโพ, ยุมิสฺสนคตีสุ, อ. รูปฯ๖๓๕.ส. อายุษฺอายุสฺ.
  31. อารตฺต : นป. เวลา, กาล เช่น วสฺสารตฺต = ฤดูฝน
  32. อาสนฺนกมฺม : (นปุ.) กรรมที่ทำเมื่อใกล้จุติ, การระลึกถึงสิ่งที่ดีหรือไม่ดีในเวลาใกล้จุติ ชื่อว่า อาสันนกรรม อีกอย่างหนึ่ง การทำดี หรือการทำไม่ดีเวลาใกล้ตาย ชื่อว่า อาสันนกรรม วิ. อาสนฺเน อนุสฺสริตํ อาสนฺนํ, อาสนฺเน วา กตํ อาสนฺนํ. อาสนฺนํ กมฺมํ อาสนฺนกมฺมํ.
  33. อิตฺตรกาล : ป. เวลาอันสั้น
  34. อุณหภูมิ : (อิต.) ชั้นแห่งความร้อน, ระดับ แห่งความร้อน, อุณฺหภูมิ (ระดับแห่ง ความร้อนเย็นของอากาศ).
  35. อุตฺตรกาล : (ปุ.) เวลาต่อไป, การต่อไป.
  36. อุตุก : ค. เหมาะแก่ฤดู, เหมาะแก่เวลา, ควรแก่กาล
  37. อุตุกาล : ป. กาลมีระดู, เวลามีประจำเดือน
  38. อุตุสปฺปาย : ป. ฤดูที่สบาย, เวลาที่สะดวกสบาย
  39. อุทณฺหสมย : ป. เวลารุ่งอรุณ
  40. อุสฺสุร อุสฺสูร : (ปุ.) กาลมีพระอาทิตย์ในเบื้อง บน, กาลสาย, เวลาสาย. วิ. อุปริ ภโว สุโร สูโร วา ยสฺมึ โส อุสฺสุโร อุสฺสูโร วา.
  41. อูส : (ปุ.) เกลือ, ที่มีเกลือ, ดินเค็ม, ที่ดินเค็ม, นาเกลือ, เวลาเช้า. อูสฺ ราชายํ, อ.
  42. เอก : (วิ.) หนึ่ง, อย่างหนึ่ง, เดียว, ผู้เดียว, คนเดียว, ไม่มีเพื่อน, โดดเดียว, โดดเดี่ยว, วังเวง, เยี่ยม, ยอด, ยอดเยี่ยม, ประเสริฐ, สูงสุด, นอกนี้, ต่างหาก, เดียวกัน, เช่น เดียวกัน, แนวเดียวกัน, เป็นหนึ่ง, อื่น (คือ อีกคนหนึ่ง อีกพวกหนึ่ง อีกสิ่งหนึ่ง). อิ คมเน, ณฺวุ, อิสฺเส. วิ. เอติ ปวตฺตตีติ เอโก. เอกศัพท์นี้เป็นปกติสังขยาและวิเสสนสัพพ นามที่เป็นสังขยา (การนับ) เป็นเอกวจนะ อย่างเดียวที่เป็นวิเสสนสัพพนาม เป็น เอก. และ พหุ. เมื่อต้องการเป็นพหุ. พึงใช้ เป็นวิเสสนสัพพนาม และแปลว่าคนหนึ่ง, คนเดียว คนเดียวกัน พวกหนึ่ง ฯลฯ พึงยัก เยื้องให้เหมาะสมกับนามนาม. เอกศัพท์ ใช้เป็นวิเสสนะของนามนามใด เวลาแปล พึงเหน็บลักษณนามของนามนั้นลงไปด้วย เช่น เอกา ธมฺมเทสนา อ. ธรรมเทศนา ๑ กัณฑ์. คำว่าไม้เอก (วรรณยุกต์ที่ ๑) มา จากเอกศัพท์นี้. เอกศัพท์ที่นำมาใช้ใน ภาษาไทยมีความหมายว่า ตัวคนเดียว ลำพังตัว โดดเดี่ยว เปลี่ยว เฉพาะ เด่น ดีเลิศ ยิ่งใหญ่ สำคัญ ที่หนึ่ง (ไม่มีสอง). ส. เอก.
  43. ปรายณ, - ยน : นป. ที่พึ่ง, ที่พำนัก, ที่พักพิง, เครื่องแบ่งเบา, จุดหมายขั้นสุดท้าย, จุดจบ; ในคำสมาสแปลว่า....เป็นที่ไปในเบื้องหน้า, มี....เป็นที่สุด, ตรงต่อ..., เที่ยงต่อ...
  44. อกฺข : (ปุ.) คะแนน, เกวียน, กลุ่ม, ดุม, เพลา, เพลารถ. วิ.อรนฺติ เอเตนาติ อกฺโข. อรฺ อกฺ วา คมเน, โข. ถ้าตั้ง อรฺ แปลง รฺ เป็นกฺ. ส. อกฺษ.
  45. อุรุเวล : (ปุ.) ประเทศชื่อ อุรุเวละ, อุรุเวล ประเทศ.
  46. กรุณายน : อิต. ความกรุณา, ความเอ็นดู
  47. การเวล, - เวลฺล : ป. ผักโหม, ผักไห่
  48. ปุปฺผาเวฬา : อิต. ดู ปุปฺผทาม
  49. ยุน ยูน : (ปุ.) ชายหนุ่ม, ชายรุ่น, คนหนุ่ม, คนรุ่น. ยุวศัพท์ แปลง อุว เป็น อุน, อูน รูปฯ ๖๔๙.
  50. เยน : (อัพ. นิบาต) เพราะ, ด้วยเหตุใด, เพราะเหตุใด.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | [151-200] | 201-219

(0.0375 sec)