Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: แจ้ง , then จง, แจ้ง .

ETipitaka Pali-Thai Dict : แจ้ง, 127 found, display 51-100
  1. วิชานาติ : ก. รู้แจ้ง
  2. วิญฺญาณ : นป. ความรู้แจ้ง, ความรู้สึกตัว
  3. วิญฺญาต : กิต. รู้แจ้งแล้ว
  4. วิปวสฺสี : ค. ผู้เห็นแจ้ง
  5. วิปสฺสก : ค. ผู้เห็นแจ้ง
  6. วิปสฺสติ : ก. เห็นแจ้ง
  7. วิปสฺสนา : อิต. ความเห็นแจ้ง
  8. วิภาเวติ : ก. ทำให้แจ้ง, ชี้แจง
  9. วิภู : ๑. ป. ผู้เป็นแจ้ง, ผู้ครอง; ๒. ค.แข็งแรง, มีอำนาจ
  10. วิภูต : กิต. เป็นแจ้งแล้ว, เด่นชัด
  11. เวยฺยากรณ : นป.ไวยากรณ์, การทำให้แจ้ง, การอธิบาย
  12. สงฺกิตฺตน : นป. การประกาศ, การแจ้งให้รู้
  13. สจฺฉิ : อ. แจ้ง, ใส
  14. สจฺฉิกรณ : นป. การทำให้แจ้ง
  15. สจฺฉิกโรติ : ก. ทำให้แจ้ง
  16. สนฺเทส : ป. การชี้แจ้ง, การแสดง, ข่าวสาร
  17. สมธิคจฺฉติ : ก. บรรลุยิ่ง, เข้าใจแจ่มแจ้ง
  18. สมฺพุชฺฌติ : ก. รู้แจ้ง, ตรัสรู้
  19. สุกฺขวิปสฺสก : (วิ.) ผู้เห็นแจ้งในมรรคเครื่องยังกิเลสให้แห้ง, (พระอรหันต์) ผู้สุกขวิปัสสก (สำเร็จพระอรหันต์ด้วยการเจริญวิปัสสนาอย่างเดียว).
  20. สุปฺปฏิวิทฺธ : ค. เข้าใจตลอดแล้ว, รู้แจ้งแทงตลอดแล้ว
  21. สุวิญฺเญยฺย : (วิ.) อัน...พึงรู้ได้โดยง่าย, อัน...พึงรู้แจ้งได้โดยง่าย. ณยฺ ปัจ. แปลง ณฺย กับ อา เป็น เอยฺย.
  22. สูจิปตฺต : (นปุ.) ใบแจ้งรายการ, ใบบอกรายการ, แผ่นแจ้งรายการ, บัญชีรายการ, สูจิบัตร.
  23. อกฺขรสมย : (ปุ.) การรู้แจ้งในอักขระ, ความรู้แจ้งในอักขระ, อักขรสมัย(วิชาว่าด้วยหนังสือ).
  24. องฺคณ : (นปุ.) กิเลสชาตเป็นเครื่องยังสัตว์ให้ถึงภพน้อยและภพใหญ่, กิเลสชาตเป็นเครื่องถึงภพน้อยและภพใหญ่, กิเลสเพียงดังเนิน, กิเลสยวนใจ, กิเลสเครื่องยียวน, มลทิน, เปลือกตม, เนิน, ลาน, ลานข้าว, ที่ว่าง, ที่โล่งแจ้ง, ภุมิภาค.องฺค คมเน, ยุ, นสฺส โณ (แปลง น ซึ่งแปลงมาจาก ยุเป็น ณ).
  25. อชฺโฌกาส : ป. ที่กลางแจ้ง, ที่โล่ง
  26. อชฺโฌกาสอพฺโภกาส : (ปุ.) ที่แจ้งยิ่งนัก, โอกาสอันยิ่ง, ที่แจ้ง, กลางหาว.อธิอวปุพฺโพ, อภิอวปุพฺโพ, กสฺ วิเลขเน, โณ.
  27. อชฺโฌกาส อพฺโภกาส : (ปุ.) ที่แจ้งยิ่งนัก, โอ กาสอันยิ่ง, ที่แจ้ง, กลางหาว. อธิ อว ปุพฺโพ, อภิอวปุพฺโพ, กสฺ วิเลขเน, โณ.
  28. อญฺชติ : ก. ๑. ฉิบหาย ๒. แจ้งชัด ๓. ทา, ไล้, หยอด ๔. ไป, รัก, ใคร่, รักใคร่ ๕. ดึงออก, เหยียดออก
  29. อญฺญตาวี : ป. ผู้รู้แจ้ง
  30. อญฺญาตุ : ป. ผู้รู้แจ้ง
  31. อติปสฺสติ : ก. เห็นแจ้ง, ค้นพบ
  32. อนุวิชฺชติ : ก. ๑. พิจารณา, สอบสวน; ๒. รู้แจ้ง, แทงตลอด
  33. อนุวิชฺฌติ : ก. ๑. แทง. เจาะ, ไช ; ๒. รู้แจ้ง, แทงตลอด
  34. อนุวิทิต : กิต. รู้แจ้งแล้ว, แทงตลอดแล้ว
  35. อนุสฺสาเวติ : ก. ให้ได้ยิน, แจ้งให้ทราบ
  36. อนุสาวก : ป. ผู้ประกาศ, ผู้แจ้งให้ทราบ
  37. อนุสาเวติ : ก. ประกาศ, แจ้งให้ทราบ
  38. อปจฺจกฺข : (วิ.) ไม่แจ้ง, ไม่ปรากฎ.ปจฺจกฺข-วิปริตํอปจฺจกฺขํ.
  39. อปโลกน : (นปุ.) การแจ้งความ, การบอกกล่าว, การบอกให้ทราบ, การประกาศ, การเลือก, การอนุญาต, การอำลา, อปปุพฺโพ, โลกฺภาสยํ, ยุ.
  40. อพฺโภกาส : (ปุ.) โอกาสอันยิ่ง, ที่แจ้ง.
  41. อพฺโภกาสิก : ป. ผู้อยู่ในที่กลางแจ้ง, ผู้อยู่กลางแจ้งเป็นวัตร
  42. อพฺโภกาสิกงฺค : นป. องค์คุณของภิกษุผู้ถือการอยู่ในที่แจ้งเป็นวัตร
  43. อภิภาสน : นป. การตรัสรู้, ความแจ่มแจ้งในใจ, ความดีใจ
  44. อภิสมฺพุทฺธาน : ค. ตื่นอยู่, รู้แจ้ง
  45. อภิสเมต, อภิสมิต : กิต. ตรัสรู้, รู้แจ้งแทงตลอดแล้ว
  46. อภิสเมตาวี : ค. ผู้รู้แจ้งแทงตลอด, ผู้บรรลุ
  47. อวโพธติ : ก. รู้แจ้ง, ตรัสรู้, ตื่น
  48. อวิจกฺขณ : (ปุ.) คนไม่มีความเห็นแจ้ง, คนพาล.
  49. อวิญฺญู : (วิ.) มิใช่ผู้รู้แจ้ง, มิใช่ผู้รู้แจ้งโดยปกติ, เขลา, โง่, ไม่รู้เดียงสา.วิ.วิเสสํชานาติ.สีเลนาติอวิญฺญู.วิญฺญูปฏิปกฺโขอวิญฺญู.
  50. อวิทูอวิทสุ : (ปุ.) คนไม่รู้แจ้ง, คนเขลา, คนโง่, คนพาล.น+วิทฺ+รูปัจ.ศัพท์หลังสุปัจ.
  51. 1-50 | [51-100] | 101-127

(0.0188 sec)