Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: โจ้ง , then จง, โจ้ง .

Eng-Thai Lexitron Dict : โจ้ง, 3 found, display 1-3
  1. cross a bridge when one comes to it : (IDM) ; จงแก้ไขเมื่อต้องเผชิญกับปัญหา
  2. flood : (VT) ; ท่วม ; Related:ไหลบ่า, เจิ่ง, นอง, ล้น, เอ่อท้น ; Syn:overflow, inundate, submerge

Thai-Eng Lexitron Dict : โจ้ง, more than 7 found, display 1-7
  1. โล่งโจ้ง : (ADJ) ; clear ; Related:open (space) ; Syn:โล่ง ; Def:ที่มีลักษณะว่างหรือเปิดตลอด, ไม่มีอะไรกีดกั้นหรือปิดบัง ; Samp:สภาพของป่าหนาทึบกลายเป็นพื้นที่โล่งโจ้งพร้อมที่จะต้อนรับแขกคนสำคัญ
  2. โล่งโจ้ง : (ADJ) ; clear ; Related:open (space) ; Syn:โล่ง ; Def:ที่มีลักษณะว่างหรือเปิดตลอด, ไม่มีอะไรกีดกั้นหรือปิดบัง ; Samp:สภาพของป่าหนาทึบกลายเป็นพื้นที่โล่งโจ้งพร้อมที่จะต้อนรับแขกคนสำคัญ
  3. จง : (AUX) ; must ; Related:have to, should ; Syn:ต้อง, ควร ; Def:เป็นคำช่วยกริยาบอกความบังคับหรือความหวัง ; Samp:ขอให้นักเรียนจงอย่าขาดเรียน เพราะใกล้สอบแล้ว
  4. โทงๆ : (ADJ) ; naked ; Related:unclothed, undressed, nude, stripped, unclad, disrobed, unrobed ; Syn:โล่งโจ้ง ; Def:ที่ไม่มีอะไรปกปิด
  5. โล้งโต้ง : (ADJ) ; naked ; Related:nude, bare ; Syn:โล่งโต้ง, โล่งโจ้ง, ล่อนจ้อน, เปล่าเปลือย ; Def:เปิดเผยชัดเจน, โล่งจนเห็นได้ทั่ว ; Samp:เขาพากายโล้งโต้งวิ่งไปทั่วห้องอย่างไม่สนใจสายตานับสิบคู่ที่มองมา
  6. จงเกลียดจงชัง : (V) ; hate ; Related:dislike intensely, loathe, execrate, abominate, detest ; Syn:เกลียด, เกลียดชัง, รังเกียจ ; Ant:ชอบ, รัก, พอใจ, รักใคร่ ; Def:ผูกใจเกลียดชังอย่างยิ่ง ; Samp:ผมไม่เข้าใจว่าทำไมเธอจึงจงเกลียดจงชังผมนัก
  7. จงดู : (V) ; look! ; Def:สั่งให้มองดู ; Samp:เจ้าจงดูอมนุษย์ที่ต้องคำสาปพวกนั้น มันทรมานแสนสาหัสแค่ไหน
  8. Thai-Eng Lexitron Dict : โจ้ง, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : โจ้ง, more than 5 found, display 1-5
  1. จง : เป็นคําช่วยกริยา บอกความบังคับ เช่น จงปฏิบัติตามระเบียบวินัย, หรือ บอกความหวัง เช่น จงมีความสุขความเจริญ.
  2. โล่งโจ้ง : ว. โล่งโต้ง.
  3. โล่งโต้ง, โล้งโต้ง : ว. ล่อนจ้อน, เปล่าเปลือย, เช่น เดินเปลือยกายโล่งโต้ง ถอนขน ห่านเสียโล้งโต้ง ย่านซื่อซื่อว่าบ้าน ย่านยาว เหนแต่ชุมนุมลาว ล่อนโล้ง ลากอวนส่วนหนุ่มสาว เสียงแซ่ แม่เอย เท่าแก่แล โล้งโต้ง ต่างหล้อนห่อนอายฯ (นิ. สุพรรณ), โล่งโจ้ง ก็ว่า.
  4. จงเกลียดจงชัง : ก. ผูกใจเกลียดชังอย่างยิ่ง.
  5. จงโคร่ง, โจงโคร่ง : [-โคฺร่ง] น. ชื่อสัตว์สี่เท้าสะเทินนํ้าสะเทินบกชนิด Bufo asper ในวงศ์ Bufonidae เป็นสัตว์สกุลเดียวกับคางคก อาศัยในป่าบริเวณริมลําธาร หรือน้ำตก, กระทาหอง กระหอง หรือ กง ก็เรียก.
  6. Royal Institute Thai-Thai Dict : โจ้ง, more results...

Budhism Thai-Thai Dict : โจ้ง, more than 5 found, display 1-5
  1. กรวดน้ำ : ตั้งใจอุทิศบุญกุศลให้แก่ผู้ล่วงลับ พร้อมไปกับหลั่งรินน้ำเป็นเครื่องหมาย และเป็นเครื่องรวมกระแสจิตที่ตั้งใจอุทิศนั้นให้แน่วแน่; เริ่มรินน้ำเมื่อพระองค์หัวหน้าเริ่มสวดยถา รินน้ำหมดพร้อมกับพระหัวหน้าสวดยถาจบ และพระทั้งหมดเริ่มสวดพร้อมกัน จากนั้นวางที่กรวดน้ำลงแล้วประนมมือรับพรต่อไป; คำกรวดน้ำอย่างสั้นว่า อิทัง โน ญาตีนัง โหตุ ขอส่วนบุญนี้จงสำเร็จแก่....(ออกชื่อผู้ล่วงลับ) และญาติทั้งหลายของข้าพเจ้าเถิด จะต่ออีกก็ได้ว่า สุขิตา โหนตุ ญาตโย ขอญาติทั้งหลายจงเป็นสุขเถิด - to pour the water of dedication (to transfer merit to other beings)
  2. ทุลลภธรรม : สิ่งที่ได้ยาก, ความปรารถนาของคนในโลกที่ได้สมหมายโดยยาก มี ๔ คือ ๑.ขอโภคสมบัติจงเกิดมีแก่เราโดยทางชอบธรรม ๒.ขอยศจงเกดมีแก่เรากับญาติพวกพ้อง ๓.ขอเราจงรักษาอายุอยู่ได้ยืนนาน ๔.เมื่อสิ้นชีพแล้ว ขอเราจงไปบังเกิดในสวรรค์ ; ดู ธรรมเป็นเหตุให้สมหมาย ด้วย
  3. ปวารณา : 1. ยอมให้ขอ, เปิดโอกาสให้ข้อ 2.ยอมให้ว่ากล่าวตักเตือน, เปิดโอกาสให้ว่ากล่าวตักเตือน, ชื่อสังฆกรรมที่พระสงฆ์ทำในวันสุดท้ายแห่งการจำพรรษา คือ ในวันขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๑ เรียกว่าวันมหาปวารณา โดยภิกษุทุกรูปจะกล่าวปวารณา คือ เปิดโอกาสให้กันและกันว่ากล่าวตักเตือน ได้ดังนี้ “สงฺฆมฺภนฺเต ปวาเรมิ, ทิฏฺเฐน วา สุเตน วา ปริสงฺกาย วา; วทนฺตุ มํ, อายสฺมนฺโต อนุกมฺปํ อุปาทาย; ปสฺสนฺโต ปฏิกฺกริสฺสามิ. ทุติยมฺปิ ภนฺเต สงฺฆํ ปวาเรมิ,..... ตติยมฺปิ ภนฺเต สงฺฆํ ปวาเรมิ,.......” แปลวว่า “ข้าพเจ้าขอปวารณกะสงฆ์ ด้วยได้เห็นก็ตาม ด้วยได้ยินก็ตาม ด้วยน่าระแวงสงสัยก็ตาม, ขอท่านผู้มีอายุทั้งหลายจงว่ากล่าวกะข้าพเจ้าด้วยอาศัยความหวังดี, เอ็นดู, เมื่อข้าพเจ้ามองเห็น จักแก้ไขแม้ครั้งที่สอง.........แม้ครั้งที่สาม.......” (ภิกษุผู้มีพรรษาสูงสุดในที่ประชุมว่า อาวุโส แทน ภนฺเต)
  4. ปัจฉิมโอวาท : คำสอนครั้งสุดท้าย หมายถึง ปัจฉิมวาจา คือ พระดำรัสสุดท้ายของพระพุทธเจ้าก่อนจะปรินิพพานว่า “วยธมฺมา สงฺขารา อปฺปมาเทน สมฺปาเทถ” แปลว่า “สังขารทั้งหลาย มีความเสื่อมสลายไปเป็นธรรมดา ท่านทั้งหลายจง (ยังประโยชน์ตนและประโยชน์ผู้อื่น) ให้ถึงพร้อม ด้วยความไม่ประมาทเถิด”
  5. ปิณโฑล ภารทวาชะ : พระมหาสาวกองค์หนึ่ง เป็นบุตรพราหมณ์มหาศาลภารทวาชโคตร ในพระนครราชคฤห์ เรียนจบไตรเพท ออกบวชในพระพุทธศาสนา ได้สำเร็จพระอรหัต เป็นผู้บริบูรณ์ด้วยสติ สมาธิ ปัญญา มักเปล่งวาจาว่า “ผู้ใดมีความเคลือบแคลงสงสัยในมรรคก็ดี ผลก็ดี ขอผู้นั้นจงมาถามข้าพเจ้าเถิด” พระศาสดาทรงยกย่องว่า เป็นเอตทัคคะในทางบันลือสีหนาท
  6. Budhism Thai-Thai Dict : โจ้ง, more results...

ETipitaka Pali-Thai Dict : โจ้ง, 10 found, display 1-10
  1. กลฺลหาร : (นปุ.) จงกลณี (บัวดอกคล้ายบวบ ขม) วิ. กสฺส ชลสฺส หารํ วิย โสภากรตฺตา กลฺลหารํ. ก+หาร ลง ลฺ อาคมหลัง ก แปลง ลฺ เป็น ลฺล เป็น ปุ. บ้าง.
  2. อญฺชาหิ : ก. จงหยอด
  3. อตฺถุ : (อัพ. นิบาต) จงยกไว้, ก็ตามแต่ ก็ตามที(ตอบอย่างไมม่พอใจ), โดยแท้.
  4. อินฺทมฺพร อินฺทวร อินฺทิราวร อินฺทีวร : (ปุ.) บัวเขียว, บัวสีน้ำเงิน, นิลจง.
  5. อุตฺติฏฐ : ก. (ท่าน) จงลุกขึ้น
  6. เอหิ : ก. จงมา
  7. เอหิปสฺสิก : (วิ.) ควรซึ่งวิธีว่า อ. ท่านจงมาดู, ควรซึ่งวิธีว่าท่านจงมาดู, ควรเรียกให้มาดู. วิ. เอหิ ปสฺสาติ อิมํ วิธึ อรหตีติ เอหิปสฺ สิโก. ณิก ปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท. รูปฯ ๓๖๐. โมคฯ ขาทิกัณฑ์ วิ. เอหิปสฺสวิธึ อรหตีติ เอหิปสฺสิโก.
  8. เอหิภิกฺขุ : (ปุ.) เอหิภิกขุ คำเรียกภิกษุผู้ได้รับ อุปสมบทจากพระพุทธเจ้าโดยพระดำรัส ว่า จงเป็นภิกษุมาเถิด ถ้าผู้อุปสมบทยังไม่ บรรลุพระอรหัต จะตรัสเพิ่มอีกว่า จงทำที่ สุดทุกข์โดยชอบเถิด.
  9. เอหิภิกฺขุปพฺพชา : (อิต.) การบวชด้วยพระ ดำรัสว่า จงเป็นภิกษุมาเถิด.
  10. เอหิภิกฺขุอุปสมฺปทา : (อิต.) การอุปสมบท ด้วยพระดำรัสว่าจงเป็นภิกษุมาเถิด, เอหิ ภิกขุ อุปสัมปทา คำเรียกอุปสมบท อย่าง ที่ ๑ ใน ๓ อย่าง เป็นวิธีที่พระพุทธเจ้า ทรงเอง.

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : โจ้ง, 1 found, display 1-1
  1. อันตรายจงพินาศไป : อนฺตรายา นสฺสนฺตุ

(0.1305 sec)