Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: กฎ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : กฎ, 31 found, display 1-31
  1. กฎสิ, - สี : อิต. สุสาน, ป่าช้า
  2. ทุกฺกฎ : (นปุ.) กรรมอัน...ทำชั่วแล้ว, กรรม ชั่ว, การทำเสีย, ความชั่ว, บาป, ทุกกฎ ชื่ออาบัติกองที่ ๖ เป็นอาบัติเบา แม้จะ เป็นอาบัติเบา ภิกษุ-สามเณรล่วงบางข้อ ก็ทำให้ศรัทธาของพระพุทธศาสนิกชนตกไปได้ เช่น นุ่งห่มไม่เรียบร้อย พูดจาไม่สำรวม เป็นต้น พึงระวัง. ศัพท์เป็น ทุกฺกต แปลง ต เป็น ฏ.
  3. นิกฎ : (วิ.) ใกล้, ริม. วิ. นตฺถิ กโฏ อาวรณ เมตสฺสาติ นิกฏํ. ส. นิกฎ.
  4. นีติ : อิต. การนำไป, การแนะนำ, กฎ, ข้อบังคับ
  5. เนติ : ๑. ก. นำไป, ย่อมแนะนำ ; ๒. อิต. การแนะนำ, ระเบียบ, กฎ
  6. วิธาน : นป. การทรงไว้, การจัดแจง, กฎ, พิธี, ธรรมเนียม
  7. วิธิ : ป. การทรงไว้อย่างวิเศษ; แบบ, กฎ, ธรรมเนียม
  8. กกฺกฎกมคฺค : ป. ทางปูเดิน, รอยปู
  9. กกฺกฎกรส : ป. รสที่เกิดจากปู, แกงปู
  10. กกฺกฎ, - ฏก : ป. ปู
  11. นิกฎ, นิกฏฐ : ๑. นป. ที่ใกล้เคียง, บ้านใกล้เรือนเคียง ; ๒. ค. ใกล้, ใกล้เคียง; นำลง
  12. มกฺกฎ : ป. ลิง
  13. สุกฎ สุกต : (นปุ.) การทำดี, การทำให้ดี, การทำงานให้ดี, บุญ, กุศล. วิ. สุขํ กโรตีติ สุกฎํ สุกตํ วา. สุขปุพฺโพ, กรฺ กรเณ, โต. ศัพท์ต้นแปลง ต เป็น ฎ. โสภนํ กรณํ อสฺสาติ วา สุกฎํ สุกตํ วา. ลบ ภน แปลง โอ เป็น อุ.
  14. โกเปติ : ก. ทำให้เกิดโกรธ, ละเมิด (กฎ)
  15. กกฺกฏ กกฺกฏก : (ปุ.) ปู (สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ) วิ. เก กฎตีติ กกฺกโฏ กกฺกฏโก วา. กปุพฺโพ, กฏฺ วสฺสาวรณคตีสุ, กุกฺ อาทาเน วา, อโฏ, อุสฺสตฺตํ. ศัพท์หลังลง ก สกัด. ส. กรฺกฏ.
  16. กปฺปิยานุโลม : นป. ความที่เข้ากันได้กับกฎ, การอนุโลมตามกฎ
  17. จงฺโกฏก จงฺโคฎก : (ปุ.) ผอบ (ตลับมีเชิง มี ยอด), หีบ, เตียบ (ตะลุ่มปากผายมีผ้า ครอบ สำหรับใส่ของกิน). กุฎฺ เฉทเน, โณ, สกตฺเถโก. เทว๎ภาวะ ก นิคคหิต- อาคม. ศัพท์หลังแปลง ก เป็น ค.
  18. ทุกฺกฏ : นป. การกระทำผิด, ความชั่ว, ชื่ออาบัติเบาชนิดหนึ่งซึ่งเรียกว่าอาบัติทุกกฎ
  19. เทสนาคามินี : (อิต.) เทสนาคามินี ชื่ออาบัติ, อาบัติเป็นเทสนาคามินี คืออาบัติที่ภิกษุ ต้องเข้าแล้ว จะพ้นจากอาบัตินั้นได้โดย การแสดง (ปลงอาบัติ) ได้แก่อาบัติ ถุลสัจจัย ปาจิตตีย์ ปาฏิเทสนียะ ทุกกฎ และทุพภาสิต.
  20. ปญฺญาเปติ : ก. บัญญัติ, ตั้งกฎ, ให้รู้, ประกาศ, ปูลาด
  21. ปทปูรณ : (ปุ.) บทอันยังเนื้อความให้เต็ม, บทบูรณ์ คือคำที่ทำให้คำประพันธ์ครบคำ ตามหลักหรือกฎเกณฑ์ของคำประพันธ์.
  22. ปากต : ค. ดู ปากฎ
  23. พฺยญฺชสโยค : (ปุ.) การซ้อนกันของพยัญชนะ, พยัญชนสังโยค คือพยัญชนะที่ใช้ซ้อนกันได้ตามกฎเกณฑ์ หรือพยัญชนะที่เป็นตัวสกดตามอักขรวิธี.
  24. ยถาธมฺม : ก. วิ. ตามธรรม, ตามกฎ
  25. ยถาสตฺถ : ก.วิ.ตามศีล, ตามกฎ, ตามวินัย
  26. สภาคาปตฺติ : (อิต.) อาบัติเหมือนกัน, สภาคาบัติ ชื่ออาบัติที่ภิกษุต้องเหมือนกัน เช่น ต้องอาบัติปาจิตตีย์ เพราะฉันอาหารในเวลาวิกาล ท่านห้ามไม่ให้แสดงแก่กันและกัน ต้องแสดงแก่ภิกษุที่ต้องอาบัติไม่เหมือนกัน ถ้าไม่สามารถหาภิกษุเช่นนั้นได้ จะแสดงก็ได้ แต่ท่านปรับอาบัติทุกกฎ ทั้งผู้แสดงและผู้รับแสดง.
  27. สุตุต สุตฺร : (นปุ.) พระพุทธวจนะ (ปาวจนา), พระสูตร ชื่อหมวด ๑ ในพระไตรปิฎก คำเต็มว่า พระสุตตันตะ. วิ.อตฺเถ อภสเวตีติ สุตฺตํ สุตรํ วา (หลั่งอรรถ). สุ อภิสเว, โต, ทวิตฺตํ, ตฺรณฺปจฺจโย วา. อตฺเถ สูเทตีติ วา สุตฺตํ สุตฺรํ. สูทฺ ปคฺฆรเณ, รสโส, ทฺโลโป. อตฺถํ สุฏฐ ตายตีติ วา สุตฺตํ สุตฺรํ (รักษาด้วยดีซึ่งอรรถรักษาอรรถไว้ดี). สุฏฐปุพฺโพ, ตา ปาลเน, อ, ฏฐโลโป. ศัพท์ต้นซ้อน ตฺ. สูตร ชื่อกฎของไวยากรณ์สำหรับใช้สร้างศัพท์ เช่น โยนํ โน การอาเทศเป็น โนแห่งโย ทฺ เป็นต้น.
  28. อกฺขวิธิ : (ปุ.) แบบแห่งอักษร, แบบอย่างแห่งอักษร, กฎเกณฑ์แห่งอักษร, อักขวิธีตำราว่าด้วยวิธีเขียนและออกเสียงอ่านหนังสือให้ถูกต้อง.
  29. อนิยม : (วิ.) มิใช่ความกำหนด, มิใช่ความแน่นอน, มิใช่ความชอบ, อนิยม (ไม่ต้องด้วยกฎหรือแบบแผน นอกแบบ).ส.อนิยม.
  30. อพฺพตน : ป., ค. ความเป็นผู้ไม่มีวัตร, การทำลายกฎศีลธรรม, ผิดศีล
  31. อุปมาน : (นปุ.) ความเปรียบ, ความเปรียบเทียบ. การเปรียบ, การเปรียบเทียบ, คำเป็นเครื่องเปรียบ, คำเป็นเครื่องเปรียบเทียบ, อุปมา, อุปมาน. วิ. อุปมียเต เยน ตํ อุปมานํ. รูปฯ ๕๒๐ วิ. อุปมียติ เอเตนาติ อุปมานํ. อุปปุพฺโพ, มา ปริมาเณ, ยุ. อุปมาน ชื่อ ของการศึกษาอย่างหนึ่ง คือ การศึกษาจาก ข้อเท็จจริงที่เหมือนกันหลายอย่าง แล้วตั้งเป็นกฎเกณฑ์ขึ้น. ส. อุปมาน. อุปเมยฺย (ปุ.?) อุปไมย คือสิ่งที่จะหาสิ่งอื่น มาเปรียบเทียบได้ สิ่งที่เปรียบได้. ส. อุปเมย.
  32. [1-31]

(0.0241 sec)