Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: การเล่าเรียน , then การลารยน, การเล่าเรียน .

Eng-Thai Lexitron Dict : การเล่าเรียน, 1 found, display 1-1

Thai-Eng Lexitron Dict : การเล่าเรียน, 6 found, display 1-6
  1. การเล่าเรียน : (N) ; study ; Related:learning, education ; Syn:การเรียน, การศึกษา, การเรียนรู้, การหาความรู้ ; Samp:การเล่าเรียนทำให้คนมีความคิดเป็นผู้ใหญ่มากขึ้น
  2. การเรียน : (N) ; education ; Related:study, learning ; Syn:การศึกษาเล่าเรียน, การศึกษา, การเล่าเรียน ; Def:การศึกษาเพื่อให้เจนใจจำได้ให้เกิดความรู้ความเข้าใจหรือความชำนาญ ; Samp:การเรียนเป็นรากฐานสำคัญและส่งผลต่ออนาคตในชีวิตของทุกคน
  3. การเรียนรู้ : (N) ; learning ; Related:acquisition of knowledge ; Syn:การศึกษา, การเรียน, การเล่าเรียน ; Def:การศึกษาเพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจ หรือความชำนาญ ; Samp:พฤติกรรมของสัตว์มีความยืดหยุ่น สามารถดัดแปลงได้โดยการเรียนรู้ภายหลัง
  4. การเรียนหนังสือ : (N) ; study ; Related:learning ; Syn:การเรียน, การศึกษาเล่าเรียน, การเล่าเรียน ; Samp:การเรียนหนังสือช่วยให้คนมีความคิดเป็นระบบมากขึ้น
  5. การศึกษา : (N) ; education ; Related:study, learning ; Syn:การเรียน, การเล่าเรียน, การเรียนรู้, การศึกษาเล่าเรียน, การหาความรู้ ; Samp:การศึกษาในมหาวิทยาลัยทำให้ความคิดของเขาเปลี่ยนไปมาก
  6. สิกขา : (N) ; education ; Related:study ; Syn:การศึกษา, การเล่าเรียน ; Def:ข้อที่จะต้องศึกษา

Royal Institute Thai-Thai Dict : การเล่าเรียน, 3 found, display 1-3
  1. ธุร-, ธุระ : [ทุระ] น. หน้าที่การงานที่พึงกระทํา, กิจในพระศาสนา มี ๒ อย่าง คือ การเล่าเรียน เรียกว่า คันถธุระ และ การปฏิบัติทางใจ เรียกว่า วิปัสสนาธุระ; (ปาก) เรื่องส่วนตัว เช่น ไม่ใช่ธุระของคุณ. (ป., ส.).
  2. อัธยาย : [อัดทะยาย] น. บทเรียน, บท; การอ่าน, การเล่าเรียน. (ส. อธฺยาย).
  3. อุคห, อุคหะ : [อุกคะหะ] น. การเล่าเรียน. ว. เจนใจ. (ป. อุคฺคห).

Budhism Thai-Thai Dict : การเล่าเรียน, not found

ETipitaka Pali-Thai Dict : การเล่าเรียน, 10 found, display 1-10
  1. คหณ : นป. การยึด, การถือ, การศึกษา, การเล่าเรียน
  2. สิกฺขน : (นปุ.) การศึกษา, การเล่าเรียน, ยุ ปัจ.
  3. สิกฺขา : (อิต.) ปฏิปทาอันบุคคลพึงศึกษา, ปฏิปทาอันเขาพึงศึกษา, ทางดำเนินอันบุคคลพึงศึกษา, ข้อที่ควรศึกษา, ข้อปฏิบัติที่ควรศึกษา, วิชชาอันบุคคลพึงศึกษา, หัวข้อที่ควรศึกษา. วิ. สิกฺขิตพฺพนฺติ สิกฺขา, ปฏิปทาอันเขาย่อมศึกษา, ฯลฯ. วิ. สกฺขิยตีติ สิกฺขา, การศึกษา, การเล่าเรียน, การสำเหนียก (เอาใจใส่ กำหนดจดจำ). วิ. สิกขนํ สิกฺขา. อ ปัจ. อา อิต. พระพุทธศาสนาวางข้อ (เรื่อง) ที่ควรศึกษาไว้ ๓ คือ ศีล สมาธิ และปัญญา เรียกว่า ไตรสิกขา.
  4. อชฺเฌน : (นปุ.) การเชื้อเชิญ, การเรียน, การเล่าเรียน, การท่อง, การสวด, การศึกษา.อธิ+อ+ยุแปลงอธิเป็นอชฺฌอิเป็นเอยุเป็นอน.
  5. อุคฺคห : (ปุ.) การเรียน, การเล่าเรียน, ความจดจำ. อุปุพฺโพ, คหฺ คหเณ อ, ยุ.
  6. อุคฺคหน อุคฺคณฺหน : (นปุ.) การเรียน, การเล่าเรียน, ความจดจำ. อุปุพฺโพ, คหฺ คหเณ อ, ยุ.
  7. คนฺถธุร : (นปุ.) กิจในคัมภีร์, การเล่าเรียน ความรู้ซึ่งจารึกไว้ในคัมภีร์, การศึกษาคำ สั่งสอนซึ่งจารึกไว้ในคัมภีร์, คันถธุระ ชื่อ ธุระอย่าง ๑ ใน ๒ อย่าง ของพระพุทธ ศาสนา. การเล่าเรียนพระปริยัติธรรมคือ คำสั่งสอน แล้วทรงจำไว้กล่าวสอนไม่ให้ ผิดไปจากหลักตัดสินพระธรรมวินัย ชื่อว่า คันถธุระ. เป็นหน้าที่ของพุทธศาสนิกชน โดยเฉพาะพระภิกษุและสามเณร. ธุระ อีกอย่างหนึ่งคือ วิปัสสนาธุระ.
  8. ปริยตฺติ : อิต. การเล่าเรียน
  9. ปริยายกถา : อิต. การเล่าเรียน, การพูดอ้อมค้อม
  10. อธฺยาปน : (นปุ.) การเล่าเรียน, อธิปุพฺโพ, อาปฺพยฺาปเน, ยุ.แปลงอิเป็นย.

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : การเล่าเรียน, not found

(0.1043 sec)