Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: กำหนัด , then กำหนด, กำหนัด .

ETipitaka Pali-Thai Dict : กำหนัด, 192 found, display 1-50
  1. รชฺชติ : ก. ยินดี, กำหนัด, พอใจ
  2. อนุคิชฺฌติ : ก. โลภ, อยากได้, กำหนัด, ยินดี
  3. อนุรญฺชติ : ก. ยินดี, รักใคร่, พอใจ, กำหนัด
  4. สารตฺตรตฺต : (วิ.) ทั้งกำหนดหนักแล้วทั้งกำหนัดแล้ว.
  5. กามคฺค : นป. ความกำหนัดยิ่ง, ความยินดียิ่ง
  6. กามตณฺหา : (อิต.) ความกำหนัดแห่งจิตอัน สหรคตด้วยกามธาตุ ความอยากในความใคร่, ฯลฯ, ความพอใจในกามทั้ง ๕, ตัณหาคือกาม.
  7. กามราค : ป. ความกำหนัดในกาม
  8. คหฏฺฐ : (ปุ.) คนผู้ดำรงอยู่ในเรือน, คนครอง เรือน, คหัฐ คฤหัสถ์ (คนครองเรือน ไม่ ใช่นักบวช). วิ. เคเห ติฏฺฐตีติ คหฏฺโฐ คนผู้ดำรงอยู่ในป่าคือกิเลส, คนผู้ดำรงอยู่ ในเรือนด้วยสามารถแห่งความกำหนัด ในกามคุณห้า วิ. เคเห ปญฺจกามคุเณ ราควเสน ติฏฺฐตีติ คหฏฺโฐ. คหปุพฺโพ ฐา คตินิวุตฺติยํ, กฺวิ.
  9. คิทฺธ : (วิ.) กำหนัด, ยินดี, รัก,รักใคร่, ชอบใจ, โลภ. คิธฺ อภิกํขายํ, โต. แปลง ต เป็น ทฺธ ลบที่สุดธาตุ ถ้าตั้ง คิทฺธฺ อภิกํขายํ. ลง อ ปัจ.
  10. เคธ : (วิ.) กำหนัด, อยาก, ปราถนา, ยินดี, ชอบใจ, พอใจ, ติดใจ, รัก, รักใคร่. คิธฺ อภิกํขายํ, โณ.
  11. เคธิกตา : (อิต.) ความกำหนัด, ฯลฯ.
  12. ฉนฺทราค : (นปุ.) ความกำหนัดด้วยสามารถ แห่งความพอใจ, ฯลฯ.
  13. ตณฺหา : (อิต.) ความกระหาย, ความระหาย, ความอยาก, ความอยากได้, ความทะยาน (ดิ้นรน), ความทะยานอยาก (อยากได้ อยากมี อยากเป็น), ความกำหนัด (ความใครในกามคุณ), ความว่องไว (ใน อารมณ์), ความสน (นิ่งอยู่ไม่ได้), ความดิ้นรน, ความปรารถนา (ในกาม), ความเสน่หา (ติดพัน), ความแส่หา (ดิ้นรน), โลภ ความโลภ (อยากใคร่ในอารมณ์), ดำฤษณา, ตฤษณา. วิ. ตสนํ ตณฺหา. ยาย วา ตสนฺติ สา ตณฺหา ตสฺ ปิปาสายํ, ณฺห, สโลโป. ตสติ ปาตุ มิจฺฉติ เอตายาติ วา ตณฺหา. ตสติ ปาปํ อิจฺฉติ เอตายาติ วา ตณฺหา. ห ปัจ แปลง ณ. ส. ตฤษณา
  14. นนฺทิราค : (ปุ.) ความกำหนัดด้วยสามารถแห่งความเพลิดเพลิน, ฯลฯ, ความกำหนัด ด้วยสามารถแห่งตัณหาเป็นเครื่องเพลิด เพลิน, ฯลฯ, ความกำหนัดด้วยอำนาจแห่งตัณหาเครื่องเพลิดเพลิน, ฯลฯ.
  15. ปฏิคิชฺฌ : ค. ซึ่งกำหนัด, อยาก, ติดใจ
  16. ปฏิคิชฺฌติ : ก. กำหนัด, อยาก, ติดใจ
  17. ภวตณฺหา : (อิต.) ความอยากในความมี, ความอยากในความเป็น, ความอยากในความเกิด, ความปรารถนาในความมี, ฯลฯ, ความอยากมี, ฯลฯ, ตัณหาเป็นไปในภพ, ตัณหาในภพ, ความกำหนัดแห่งจิตอันสหรคตด้วยภวทิฏฐิ, ความอยากเป็นอยู่ในภพ, ความอยากเป็นนั่นเป็นนี่.
  18. ภวราค : (ปุ.) ความกำหนัดในภพ, ความยินดีในภพ, ความติดใจในภพ, ความพอใจในภพ, ภวราคะ. ดู ไตร.๓๐ ข้อ ๑๓๖.
  19. ภวราคานุสย : (ปุ.) กิเลสอันนอนเนื่องอยู่ในสันดาน คือ ความกำหนัดในภพ.
  20. รชน รชฺชน : (นปุ.) การย้อม, น้ำย้อม, ความกำหนัด, ความยินดี. รญฺชฺ ราเค, ยุ.
  21. รญฺชน : (นปุ.) การย้อม, ความย้อม, ความกำหนัด, ความยินดี. วิ. รญฺชนํ รญฺชนํ จันทร์แดง. ว. รญฺชาเปตีติ รญฺชนํ. รญฺชฺราเค, ยุ.
  22. ราค : ป. สี, เครื่องย้อม, ความกำหนัด, ความยินดี
  23. ราคกฺขย : ป. ความสิ้นไปแห่งความกำหนัด
  24. ราคจริต : ค. ราคจริต, คนที่มีนิสัยชอบในความกำหนัดยินดี
  25. ราคี : ค. ผู้มีความกำหนัด
  26. วิรชฺชติ : ก. คลายกำหนัด, ไม่ยินดี
  27. วิรชฺชน : นป. การคลายกำหนัด, การไม่ยินดี
  28. วิรตฺต : กิต. คลายกำหนัดแล้ว
  29. สาตฺต : กิต. กำหนัด, ยินดี, หลงรัก
  30. สาราค : (ปุ.) ความกำหนัดหนัก, ความกำหนัดหนักแล้ว (แล้วเป็นคำเหน็บเข้ามา), ตัณหา. สํ+ราค ลบนิคคหิตแล้วฑีฆะ.
  31. อเคธ : (วิ.) ไม่กำหนัด, ไม่ยินดี, ไม่ติดใจ, ไม่ละโมบ.
  32. อนนุคิทฺธ : (วิ.) มิได้กำหนัดยินดีต่อบุคคลผู้นำสักการะมาบูชาตน, มิได้กำหนัดยินดี.
  33. อนุรญฺเชติ : ก. ให้ชื่นบาน, ให้พอใจ, ให้ดีใจ, ให้กำหนัด
  34. อนุรตฺต : ค. อันยินดี, อันพอใจ, อันรักใคร่, อันกำหนัด
  35. อภิกงฺขา : (อิต.) ความอยากจัด, ความกำหนัด, ความยินดี, ความรักใคร่.อภิปุพฺโพ, กขิอิจฺฉายํ, อ.
  36. อภิคิชฺฌติ : ก. ๑. ปรารถนา, ต้องการ; ๒. กำหนัด, ยินดี ; ๓. ริษยา
  37. อภิคิชฺฌน : นป. ๑. ความปรารถนา ; ๒. ความกำหนัด ; ๓. ความริษยา
  38. อภิวิราเคติ : ก. คลายความกำหนัด, หมดความยินดี
  39. อรตฺต : ค. ไม่ถูกความกำหนัดย้อมใจ
  40. อวิราชยต : ค. ไม่คลายความกำหนัดยินดี, ไม่คลายยึดถือ
  41. อสาราค : ป. ไม่มีราคะ, ไม่มีความกำหนัดยินดี
  42. ทหติ : ก. ยอมรับ, ถือ, ตั้งไว้, วาง, กำหนด; เผา, ไหม้
  43. ปมิณาติ : ก. นับ, ประมาณ, กะ, กำหนด
  44. ปริคณฺหาติ : ก. ยึดถือ, กำหนด, สำรวจ, ค้นหา
  45. ปริมินาติ : ก. นับ, กะ, กำหนด, จำกัด
  46. ยาว : (อัพ. นิบาต) เพียงใด, เพียงไร, ตราบใด, ตราบเท่า, กระทั่ง, ประมาณ, กำหนด, ตลอด.
  47. ลกฺเขติ : ก. หมาย, กำหนด
  48. องฺเกติ : ก. จำหลัก, ทำเครื่องหมายให้รู้, กำหนด, กำหนดหมาย
  49. อภิลกฺเขติ : ก. กะ, กำหนด, หมาย
  50. ปริ : (อัพ. อุปสรรค) รอบ, โดยรอบ, ทั่วไป, กำหนด. ขาด, บ่อยๆ, อ้อม, เว้น อุ. ปริ ปพฺพตา เทโว วสฺสติ. ออก อุ. ปริ สาลาย อายนฺติ วาณิชา. เฉพาะ อุ. รุกฺขํ ปริ วิโชตติ จนฺโท.
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-192

(0.0283 sec)