Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: กิจ , then กจ, กิจ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : กิจ, 81 found, display 1-50
  1. กจ : ป. ผม, เมฆ
  2. ชจฺจนฺธกิจ : (วิ.) ประกอบในความบอดแต่ กำเนิด, ประกอบด้วยความบอดโดยกำเนิด วิ. ชจฺจนฺเธ ชจฺจนฺเธน วา นิยุตฺโต ชจฺจนฺชกิโย. กิย ปัจ.
  3. เจติยงฺคณสมฺมชฺชนคนฺธมาลาทิกิจฺจ : (นปุ.) กิจ มีอันกวาดซึ่งลานแห่งเจดีย์และอันบูชาด้วย วัตถุมีของหอมและระเบียบเป็นต้น เป็น วิเสสนบุพ. กัม. มี ฉ. ตัป., ส. ทวัน., ฉ. ตุล., ฉ. ตัป., ส. ทวัน,และฉ.ตุล.เป็นภายใน
  4. อการิย : (วิ.) (กิจ) อัน....ไม่พึงทำ, อัน.....ไม่ควรทำ.
  5. กตกรณีย : ค. ผู้ทำสิ่งที่ควรทำ, ผู้มีกิจที่ควรทำได้ทำเสร็จแล้ว
  6. กตกิจฺจ : (วิ.) ผู้มีกิจอันทำแล้ว. ต. ตุล.
  7. กตภตฺตกิจฺจ : (วิ.) ผู้มีกิจด้วยภัตอันทำแล้ว.
  8. กมฺมวาจา : (อิต.) กรรมวาจา คือคำกล่าว แสดงงานที่สงฆ์จะต้องทำ คำประกาศกิจ การในท่ามกลางสงฆ์ในพิธีของสงฆ์. ส. กรฺมวาจา.
  9. กรณีย : (นปุ.) กิจอัน...พึงทำ. กรรม...อันพึง ทำ, กิจที่ควรทำ, กิจที่พึงทำ, กิจที่ต้องทำ, กิจจำเป็น, กรัณย์. กรฺ กรเณ, อนีโย, นสฺส ณตฺตํ. ที่เป็นกิริยา ก็เป็น กรณีย เหมือนกัน.
  10. กรณียกิจฺจ : (นปุ.) กิจอัน...พึงทำ, ฯลฯ.
  11. กรณียตา : (อิต.) ความเป็นแห่งกิจอัน..พึงทำ, ฯลฯ.
  12. กสิณปริกมฺม : นป. กิจเบื้องต้นคือการเตรียมหาวัตถุก่อนที่จะลงมือเพ่งกัมมัฏฐาน
  13. การกสงฺฆ : (ปุ.) สงฆ์ผู้ทำ, สงฆ์ผู้ทำกิจทาง พระศาสนา, การกสงฆ์. สงฆ์มีจำนวน ต่าง ๆ กัน ประชุมพร้อมเพรียงกันทำ การต่าง ๆ มีสังคายนาเป็นต้น เรียกว่า การกสงฆ์.
  14. การิย : (นปุ.) กิจที่พึงทำ, หน้าที่, การงาน, ผล. กรฺ กรเณ, โณย, อิอาคโม. รูปฯ ๕๔๔.
  15. กิจฺจกร : ค. กิจกร, ผู้ทำกิจ, เจ้าหน้าที่
  16. กิจฺจการ : (ปุ.) ธุระอัน...พึงทำ, หน้าที่อัน...พึง ทำ, งานที่พึงประกอบ, กิจจการ กิจการ (ธุระการงานที่พึงประกอบ).
  17. กิจฺจญ าณ : (นปุ.) ความรู้ซึ่งกรรมอัน...พึงทำ, ฯลฯ, กิจจญาณ ชื่อของญาณอย่างที่ ๒ ใน ๓ อย่างของการเจริญอริยสัจ ๔ ได้แก่รู้ว่า ทุกข์เป็นของที่ควรกำหนดรู้ สมุทัยเป็น ของที่ควรจะ นิโรธ เป็นของที่ควรทำให้ แจ้ง มรรคเป็นของที่ควรทำให้เกิดมี.
  18. กิจฺจลกฺขณ : (นปุ.) ลักษณะอัน...พึงทำ, การกำหนดสิ่งที่พึงทำ, กิจจลักษณะ, กิจลักษณะ. ไทยใช้กิจจลักษณะเป็นวิเศษ ในความหมายว่า เป็นการเป็นงานเป็น เรื่องเป็นราว เป็นระเบียบเรียบร้อย.
  19. กิจฺจวตฺต : (นปุ.) ความประพฤติอัน...พึงทำ, ฯลฯ, ความประพฤติตามหน้าที่, เรียกกิจ ทางศาสนาที่จะพึงทำเป็นประจำ เช่น ทำ วัตรเช้า ทำวัตรเย็น เป็นต้นว่า กิจวัตร. กิจที่ทำเสมอ ๆ แม้มิใช่กิจทางศาสนาก็ เรียกกิจวัตรได้บ้าง ผู้เขียนมีความเห็นว่า ควรยกไว้เป็นศัพท์เฉพาะกิจทางศาสนา เหมาะกว่า.
  20. กิจฺจาธิกรณ : นป. กิจจาธิกรณ์, กิจที่สงฆ์พึงทำในที่ประชุมสงฆ์
  21. กิจฺจานุกิจฺจ : (นปุ.) กิจและกิจน้อย, กิจใหญ่ และกิจน้อย, กิจจานุกิจ (การงานทั่ว ๆ ไป การงานน้อยใหญ่).
  22. กีจก : (ปุ.) ไม้ไผ่อันลมถูกต้องแล้วย่อมบันลือ เสียง, ไม้ไผ่เหล่าใดโยคไหวด้วยลมย่อม บันลือเสียง เพราะมีรูอันสัตว์มีหนอน เป็นต้นทำแล้ว ไม้ไผ่เหล่านั้น ชื่อ กีจกะ วิ. อนิเลน ปกมฺปิตา เย เวณู กีฏาทีหิ กตรนฺธตาย นทนฺติ เต กีจกา. จกิ อามสเน, ณฺวุ, พฺยญฺชนานํ วิปริยาโย (เปลี่ยนพยัญชนะคือเอา ก ไว้หน้า จ). เป็น กิจก บ้าง. ส. กีจก ไม้ไผ่สีกันดัง ออดแอด.
  23. กึกร, กิงฺกร : ป. คนที่ทำกิจอะไรๆ ได้, คนใช้, บ่าว, ทาส
  24. กึกรณีย, กิงฺกรณีย : นป. กิจที่ควรทำอะไรๆ, ธุรกิจ, หน้าที่
  25. กึกรณีเยสุทกฺขตา : (อิต.) ความเป็นแห่งคนผู้ขยันในกิจการท. อันตนพึงทำด้วยอันถามว่าจะทำอะไร, ความเป็นผู้ขยันในกิจการทั้งปวง.
  26. คนฺถธุร : (นปุ.) กิจในคัมภีร์, การเล่าเรียน ความรู้ซึ่งจารึกไว้ในคัมภีร์, การศึกษาคำ สั่งสอนซึ่งจารึกไว้ในคัมภีร์, คันถธุระ ชื่อ ธุระอย่าง ๑ ใน ๒ อย่าง ของพระพุทธ ศาสนา. การเล่าเรียนพระปริยัติธรรมคือ คำสั่งสอน แล้วทรงจำไว้กล่าวสอนไม่ให้ ผิดไปจากหลักตัดสินพระธรรมวินัย ชื่อว่า คันถธุระ. เป็นหน้าที่ของพุทธศาสนิกชน โดยเฉพาะพระภิกษุและสามเณร. ธุระ อีกอย่างหนึ่งคือ วิปัสสนาธุระ.
  27. คามธมฺม : (ปุ. นปุ.) เรื่องของชาวบ้าน, กิจของ ชาวบ้าน, ความประพฤติของคนผู้มีปกติ อยู่ในบ้าน, ความประพฤติของชาวบ้าน, ความประพฤติของคนผู้มีปกติอยู่ในบ้าน, เมถุน (การร่วมสังวาส). วิ. คามวาสีนํ ธมฺโม อาจาโร คามธมฺโม.
  28. คิหิกิจฺจ : นป. กิจหรือหน้าที่ของคฤหัสถ์
  29. ฌาปนกิจฺจ : (นปุ.) กิจคืออันยังสรีระให้ไหม้, กิจคือการเผา, กิจคือการเผาศพ, งานเผา ศพ.
  30. ญตฺติ : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องยังสงฆ์ให้รู้, คำ ประกาศให้สงฆ์ทราบ ( เพื่อทำกิจของ – สงฆ์ร่วมกัน ), การบอกให้รู้, การประกาศ (บอกให้รู้ให้เข้าใจ), ญัตติ (คำเสนอให้พิ- จารณา เพื่อลงมติ). ญา ธาตุ ติ ปัจ. รัสสะ ซ้อน ตฺ หรือแปลง ติ เป็น ตฺติ ไทยใช้ญัตติในความหมายว่า หัวข้อ, หัว ข้อโต้วาที.
  31. ทุกฺกรกริยา : (อิต.) การกระทำอันบุคคลทำ ได้โดยยาก, การทำกิจที่บุคคลทำได้โดย ยาก, การทำกิจที่ทำได้โดยยาก, การทำ ความเพียรที่ทำได้โดยยาก, ทุกกรกิริยา คือการทรมานร่างกายให้ลำบากโดย ประการต่างๆ.
  32. ทุกฺขปริชานนาทิกิจฺจ : (นปุ.) กิจมีอัน กำหนดรู้ซึ่งทุกข์เป็นต้น. เป็นวิเสสนบุพ. กัม. มี ทุ. ตัป. และ ฉ. ตุล. เป็นภายใน.
  33. ธุรกิจฺจ : (นปุ.) กิจคือการงาน, กิจการงาน, ธุรกิจ คืองานประจำที่เกี่ยวกับการค้าขาย หรือกิจการอื่นที่สำคัญ ซึ่งมิใช่ราชการ.
  34. นวกมฺม : (นปุ.) การทำใหม่, การงานใหม่, กิจอัน... ทำใหม่, การก่อสร้าง.
  35. ปนฺนภาร : ค. ผู้มีภาระอันปลงลงแล้ว, ผู้ปลงภาระลงแล้ว, ผู้หมดภาระ, ผู้เสร็จกิจ, ผู้หลุดพ้นแล้ว
  36. ปพฺพชฺชา : (อิต.) การเว้น, การละเว้น, การบวช, บรรพชา (การละเว้นจากการทำชั่ว ทุกอย่าง ). บรรพชานั้นต้องเว้นจากเมถุน ธรรม การบวชในศาสนาหรือลัทธิใดก็ตาม ถ้าเว้นจากกามกิจแล้วเรียกว่าบรรพชาได้. ความหมายของคำ ปพฺพชา นั้น คือการออกจากความเป็นฆราวาส ไปประพฤติตน เป็นนักบวช ต่อมามีพระบัญญัติให้ผู้ที่มี อายุยังไม่ครบ ๒๐ ปีบริบูรณ์บวช เรียกผู้ที่ บวชนั้นว่า สามเณร สามเณรี จึงแยกการบวชออกเป็น ๒ คือ บวชเป็นภิกษุ เรียกว่า อุปสมบท บวชเป็น สามเณร สามเณรี ว่า บรรพชา. ปปุพฺโพ, วชฺชฺ วชฺชฺเน, อ, อิตฺถิยํ อา. กัจฯ ๖๓๘ รูปฯ ๖๔๔ วิ. ปฐเมว วชิตพฺพาติ ปพฺพชฺชา. ปฐมปุพฺโพ, วชฺ คติยํ, โณฺย ภาวกมฺเมสุ. แปลง ชฺย เป็น ชฺช แปลง ว เป็น วฺว แล้วแปลงเป็น พฺพ. โมคฯ ลง ย ปัจ. ส. ปฺรวรชฺยา.
  37. ปพฺพาชนียกมฺม : (นปุ.) กรรมอันสงฆ์พึงทำ แก่ภิกษุผู้อันสงฆ์พึงขับไล่, กรรมอันสงฆ์ พึงทำแก่ภิกษุผู้มีอธิกรณ์อันสงฆ์พึงขับไล่, การขับไล่, ปัพพาชนียกรรม ชื่อกิจที่สงฆ์ พึงทำแก่ภิกษุผู้ประทุษร้ายตระกูลหรือ ประพฤติลามกให้ออกไปเสียจากหมู่ (วัด) ทำด้วยวิธีญัตติจตุตถกรรม. ไตร. ๖.
  38. ปโยคกรณ : นป. การกระทำความเพียร, การกระทำความมุ่งมั่นบากบั่น, การประกอบกิจ
  39. ปุพฺพกรณ : (นปุ.) การกระทำก่อน, บุพพกรณ์ บุพกรณ์ คือ กิจที่จะต้องทำก่อนบุพกิจ.
  40. ปุพฺพกิจฺจ : (นปุ.) กิจที่จะต้อง ทำก่อน,กิจเบื้องต้น,บุพกิจ คือกิจที่ทำหลังบุพกรณ์.
  41. ปุริสาชญฺญ ปุริสาชานีย ปุรสาชาเนยฺย : (ปุ.) บุรุษผู้อาจในอันรู้ซึ่งกิจอันพลัน, บุรุษผู้รู้ซึ่งเหตุผลและสิ่งใช่เหตุโดยยิ่ง, บุรุษผู้อาชาไนย, บุรุษอาชาไนย.
  42. เปตกิจฺจ : (นปุ.) กิจอันบุคคลพึงทำเพื่อบุคคลผู้ละโลกไปแล้ว, กิจอันบุคคลพึงทำแก่บุคคลผู้ไปสู่ปรโลกแล้ว.
  43. พหุกรณีย : ค. มีกิจที่จะต้องทำมาก, มีธุระมาก;
  44. พหุกิจฺจ : (นปุ.) การงานมาก, หน้าที่มาก, กิจมาก.
  45. พุทฺธกิจฺจ : นป. กิจหรือหน้าที่ของพระพุทธเจ้า
  46. ภตฺตกิจฺจ : (นปุ.) กิจด้วยภัต คือ การฉันอาหาร.
  47. ภารกิจฺจ : (นปุ.) งานหนัก, กิจหนัก, ภารกิจ (งานที่ต้องทำ).
  48. มิจฺฉาอาชีว : (ปุ.) ความเป็นอยู่ผิด, การเลี้ยงชีวิตในทางที่ผิด, อาชีพผิด, มิจฉาอาชีวะ มิจฉาชีพ คือการหาเลี้ยงชีวิตด้วยการประกอบกิจที่ผิดกฎหมายและศีลธรรม.
  49. ราชธมฺม : ป. ราชธรรม, กิจที่พระเจ้าแผ่นดินทรงกระทำ
  50. สกรณีย : ค. ผู้ยังมีกิจที่จะต้องทำ
  51. [1-50] | 51-81

(0.0191 sec)