Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ขณะ , then ขณ, ขณะ, ขณา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ขณะ, 63 found, display 1-50
  1. ขณ : (ปุ.) ครู่, ครั้ง, คราว, สมัย, เมื่อ (ครั้ง คราว), นาที, ขณะ, กษณะ. วิ. สตฺตานํ อายุ ขียติ หายติ เอตฺถ กาเลติ ขโณ. ขี ขเย, ยุ. ขณฺ หึสายํ วา, อ. ส. กฺษณ.
  2. ลย : ป. มาตราเวลา = ๑๐ ขณะ ; เสียงรองประสานกับเสียงดนตรี ; จังหวะ
  3. ขณมุหุตฺต : (ปุ.) ขณะมุหุต สิบมุหุตตะ เป็น ขณมุหุตตะ, ขณะครู่หนึ่ง. วิ ขโณ จ โส มุหุตโต จาติ ขณมุหุตฺโต.
  4. อถ : (อัพ. นิบาต) ขณะนั้น, ครั้นนั้น, ลำดับนั้น, ถ้าว่า, ผิว่า, หากว่า, อนึ่งโสด, ทีนั้น, ทีหลัง, เมื่อนั้น, ว่าดังนั้น, อย่างนั้น, หรือ, แล, ในกาลนั้น, ในภายหลัง, ในกาลภายหลัง, เออก้อ. อถ ที่เป็น ลักขณวันตะ แปลว่าครั้นเมื่อความเป็นอย่างนั้น.เติม กิริยาสนฺเต (มีอยู่). รูปฯ ว่า ใช้ในอรรถแห่งคำถามบ้าง.
  5. อภิณฺหปจฺจเวกฺขณ : (นปุ.) การพิจารณาเนือง ๆ, ฯลฯ.อภิณหปัจจเวกขณะชื่อธรรม หมวดหนึ่งซึ่งทรงสอนให้พิจารณาทุกวัน ๆเพื่อให้รู้ตามความเป็นจริงมี ๕ ข้อ.
  6. โกณฑญฺญ : (ปุ.) โกณฑัญญะ ชื่อหัวหน้า เบญจวรรคีย์ผู้ไปเฝ้าปฏิบัติพระมหาบุรุษ ขณะทรงบำเพ็ญทุกกรกิริยา เมื่อพระมหาบุรุษตรัสรู้แล้ว ได้ฟังปฐมเทสนา ได้สำเร็จเป็นพระอริยบุคคลเป็นองค์แรก วิ. กุณฺฑนิยา อปจฺจํ โกณฺฑญฺโญ. กุณฺฑนิยา วา ปุตฺโต โกณฺฑญฺโญ. ณฺยปัจ. ลบ อี ที่ นี เหลือเป็น นฺ ลบ ณฺ รวมเป็น นยฺ แปลง นฺย เป็น ญ ซ้อน ญฺ หรือแปลง นฺย เป็น ญฺญ พฤทธิ์ อุ เป็น โอ หรือ รัสสะ อี เป็น อิ แล้วลบ อิ ลบ ณฺ เหลือเป็น นฺย แล้ว แปลงดังกล่าวแล้ว รูปฯ ๓๕๔-๕.
  7. ขณิก : (วิ.) เป็นไปชั่วขณะ, ชั่วขณะ.
  8. ขณิกสมาธิ : (ปุ.) สมาธิชั่วขณะ คือจิตที่ตั้งอยู่ ในอารมณ์เดียวชั่วครั้งชั่วคราว จิตที่นิ่งอยู่ ในอารมณ์เดียวชั่วคราว.
  9. ขเณน : ก. วิ. ชั่วขณะ, ชั่วครู่
  10. ขุรคฺค : (ปุ.) กาลเป็นที่สุดลงแห่งกรรมอัน บุคคลพึงทำด้วยมีดโกน (ปลงผมเสร็จ), ขณะโกนผมเสร็จ, ขณะปลงผมเสร็จ. วิ. ขุเรน กตฺตพฺพกมฺมสฺส อคฺโค ขุรคฺโค.
  11. จปุจปุการก : อ. ทำเสียงดังจุ๊บๆ จั๊บๆ (ขณะกินหรือดื่ม)
  12. ตขณิก : (วิ.) อันเป็นไปในขณะนั้น
  13. ตทงฺค : ๑. นป. องค์นั้น, ส่วนนั้น; ๒. ค. ชั่วเวลา, ชั่วคราว, ชั่วขณะ
  14. ตทงฺคนิพพาน : (นปุ.) ความดับด้วยองค์นั้น ๆ โดยฌานมีปฐมฌานเป็นต้น อัฏฐกถาให้ วิ. ว่า ปฐมฌานาทินา เตน เตน องฺเคน นิพพานํ ตทงฺคนิพพานํ. ตทงฺคนิพพาน ศัพท์นี้มีในไตร. ๒๓ ข้อที่ ๕0 สูตรที่ ๙ แห่งปญจาลวรรค. ไม่ควรแปลว่า นิพพาน ชั่วขณะ ดังที่อาจารย์บางท่านแปล ควร แปลว่า ความดับด้วยองค์นั้น ๆ โดยฌาน มี ปฐมฌาน เป็นต้น ตามที่อัฏฐกถาจารย์ ตั้ง วิ. ไว้ เพราะว่า “นิพพาน” นับเป็น ๑ ในโลกุตตรธรรม ๙ ไตร. ๓๑ ข้อ ๖๒0 และชาวพุทธฝ่ายเถรวาท ใช้คำ นิพพาน เป็นชื่อของจิตที่ดับกิเลสเป็นสมุจเฉทป – หานด้วยอริยมรรคที่ ๔ เป็นอกุปปา – วิมุตติอย่างเดียว เพราะฉะนั้น นิพพาน ชั่วขณะจึงไม่มี ขอฝากนักปราชญ์รุ่นหลัง ผู้หวงแหนพระพุทธศาสนาด้วย.
  15. ตาวกาลิก : (วิ.) ประกอบด้วยกาลมีประมาณ เพียงนั้น, ตั้งอยู่ชั่วขณะขอยืม, ชั่วเวลา ขอยืม.
  16. ตาวเทว : อ. เพียงนั้นนั่นเทียว, ในขณะนั้น; บัดนั้น
  17. ปฏิกฺขณ : อ. ทุกขณะ
  18. ปริเวสนา : อิต. การจัดอาหาร, การดูแลอาหารในขณะเลี้ยงกัน
  19. ภงฺคกฺขณ : ป. ขณะหรือเวลาที่สลายไป
  20. มุญฺจนเจตนา : (อิต.) ความตั้งใจในขณะให้, ความตั้งใจให้ในขณะสละ, มุญฺจนเจตนา (ขณะให้ก็เต็มใจให้ ให้ด้วยความปีติ).
  21. มุหุตฺต : (ปุ.) กาลขณะหนึ่ง, กาลครู่หนึ่ง, เวลาขณะหนึ่ง, เวลาครู่หนึ่ง, ครู่ (ประเดี๋ยวเดียว), ครู่หนึ่ง. หุจฺฉฺ โกฏิเลฺยฺ, โต. มุอาคมต้นธาตุ ลบ จฺฉฺ แปลง ต เป็น ตฺต.
  22. สปทิ : (อัพ. นิบาต) ขณะนั้น, เดี่ยวนั้น, ทันทีทันใด.
  23. สมย : (ปุ.) ขณะ, ครั้ง, ครา, คราว, หน, กาล, เวลา, ฤดู, โอกาส. วิ. สํ ปุนปฺปุนํ เอติ อยติ วาติ สมโย. สํปุพฺโพ, อิ อยฺ วา คติยํ, อ. การได้, การถึง, การเห็น, ความเห็น, ลัทธิ, มติ, ทิฏฐิ, ความพร้อมเพรียง, ความพร้อมเพรียงแห่งเหตุ, การณะ, เหตุการประชุม, หมวด, หมู่, กอง, คณะ. วิ. สมนฺตโต อยนํ คติ สมโย. การแทงตลอด, ฯลฯ. วิ. สํสุฎชุ สมฺมา วา อวิปริตากาเรน อยิตพฺโพ ญาตพฺโพติ สมโย. การละ, การสละ, การทิ้ง, การปล่อย, การวาง. ส. สมย.
  24. สุมุหุตฺต : (ปุ.) ครู่ดี, ขณะดี, ยามดี, สุนฺทร+มุหุตฺต.
  25. อกฺขณ : (ปุ.) กาลมิใช่ขณะ, สมัยมิใช่ขณะ, โชคร้าย, ยามร้าย.
  26. องฺคหาร : (ปุ.) การออกท่าทางด้วยอวัยวะ, การออกท่าทางขณะพูด, การร่ายรำ.วิ.องฺคสฺสหาโรองฺคหาโร.
  27. อชฺชตา : อิต. ปัจจุบัน, ขณะนี้
  28. อนุสย : (ปุ.) ความเดือดร้อนในภายหลัง(ปจฺฉาตาป), ความเดือดร้อนใจ (วิปฺปฏิสาร)ความติดตาม (อนุพนฺธ), ความเป็นไปบ่อยๆ, ความเป็นไปเสมอ (ปุนปฺปุนํ ปวตฺตนํ), ธรรมเป็นที่นอนตาม, อนุสัย.วิ.สนฺตาเนอนุเสนฺตีติอนุสยา.อนุรูปํการณํลภิตฺวาเสนฺติอุปฺปชฺชนฺตีติวาอนุสยา.อนุเสตีติวาอนุสโย.สิสีวาสเย, อ.อนุสัยเป็นชื่อของกิเลสอย่างละเอียดมี ๗ คือกามราคะปฏิฆะทิฏฐิวิจิกิจฉามานะภวราคะและอวิชชาซึ่งนอนเนื่องอยู่ในสันดานของสัตว์ทั้งหลายเป็นเชื้อนอนนิ่งอยู่เมื่อไม่มีอารมณ์มากระทบอายตนะภายในก็ดูเหมือนเป็นคนไม่มีกิเลสแต่ความจริงอนุสัยทั้ง ๗ มีอยู่ จะเรียกคนอย่างนี้ว่านิพพานชั่วขณะไม่ได้ คำนิพพานที่ใช้ในพระพุทธศาสนาพระบรมศาสดาตรัสเรียกเฉพาะผู้ที่ละกิเลสอย่างละเอียดทั้ง ๗ นี้ได้สิ้นเชิงเป็นสมุจเฉทฉะนั้น จะเรียกคนที่มีกายวาจาและใจดูเรียบร้อย แต่ใจยังมีอนุสัย ๗ อยู่ แม้ผู้นั้นจะได้ฌานชั้นใดชั้นหนึ่งหรือทั้ง ๘ ชั้นก็ตามว่านิพพานชั่วขณะไม่ได้.อนุสัย ๗ นี้ละได้ด้วยปัญญา (วิปัสสนา) อย่างเดียว.ส.อนุศย.
  29. อปราปรเจตนา : (อิต.) เจตนาอื่นและเจตนาอื่น, เจตนาอื่น ๆ, อปราปรเจตนาคือ เจตนาที่เกิดสืบ ๆ ต่อจากเจตนาขณะบริจาคดูมุญฺจนเจตนาด้วย.
  30. อภิฐาน : (นปุ.) ฐานยิ่ง, ฐานะอย่างหนัก, อภิฐานะชื่อของความผิดสถานหนักมี๖อย่างคืออนันตริยกรรม๕ การปฏิญญาณรับถือศาสนาอื่นในขณะที่ครองเพศบรรพ-ชิตเป็นข้อที่ ๖.
  31. อภิสมย : (ปุ.) การถึงพร้อมเฉพาะ, การตรัสรู้-พร้อมเฉพาะ, การตรัสรู้, การตรัสรู้ซึ่งธรรมการบรรลุ, การบรรลุธรรม, การละ, การทิ้ง, การปล่อย, การวาง, ความถึงพร้อมเฉพาะ, ฯลฯ, คราวอันยิ่ง, กาลอันยิ่ง.อภิสํปุพฺโพ, อยฺ อิวา คมเน, อ. ตรัสรู้ได้ด้วยอะไร?ตรัสรู้ได้ด้วยจิตที่เป็นปัจจุบันและด้วยญาณในขณะโลกุตตรมรรค.ไตร.๓๑/๖๐๒.
  32. อมูฬฺหวินย : (ปุ.) อมูฬหวินัยชื่อวิธีระงับอธิ-กรณ์อย่างหนึ่งในเจ็ดอย่างถ้ามีภิกษุเป็นบ้าเมื่อหายบ้าแล้วสงฆ์จะสวดประกาศมิให้ใครโจทท่านด้วยอาบัติที่ท่านทำขณะเป็นบ้าเรียกว่าอมูฬหวินัย.
  33. อริยปุคฺคล : (ปุ.) บุคคลผู้เจริญ, บุคคลผู้ประเสริฐ, พระอริยบุคคล, ทางพระพุทธศาสนาเรียกบุคคลที่ละกิเลสได้เด็ดขาด (สมุจเฉทป-หาน)ไม่กำเริบอีกเป็นขั้น ๆว่าพระอริย-บุคคล ๆ มี ๔ ชั้นตามที่ละกิเลสได้คือพระโสดาบันพระสกทาคามีพระอนาคามีและพระอรหันต์เป็นชั้นสูงสุดทางพระ-พุทธศาสนา ไม่มีพระอริยบุคคลชั่วขณะหรือชั่วคราวหรือพระอริยบุคคลแต่งตั้งหรือนิพพานชั่วขณะ.
  34. อวสูร : ก. วิ. ขณะที่พระอาทิตย์ตก, พร้อมกับพระอาทิตย์ตก
  35. อสามายิก : ค. ไม่ใช่ชั่วครู่, ไม่ใช่ชั่วขณะ
  36. อารมฺมณ : (นปุ.) ธรรมชาติเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวของจิต, ธรรมชาติเป็นที่เหนี่ยวของจิต, ธรรมชาตเป็นที่มารื่นรมย์, ธรรมชาตเป็นที่ยินดีของจิต, เครื่องยึดเหนี่ยวของจิต, เครื่องยึดหน่วงแห่งจิต, ความคิด, ความรู้สึก, เหตุ, โคจร, นิสัยใจคอ ?, อารมณ์(ความเป็นไปแห่งจิตในขณะหนึ่งๆธรรมชาติที่เกิดขึ้นให้จิตรู้สึกสิ่งที่จิตรู้).วิ.อาคนฺตวาอาภุโสวาจิตฺตเจตสิกาธมฺมารมนฺติเอตฺถาติอารมฺมณํ.อาปุพฺโพ, รมฺรมเณ, ยุ
  37. ขณติ : ก. ขุด, ถอน, ทำลาย
  38. ขณาตีต : ค. ล่วงโอกาส, พลาดหวัง
  39. ปจฺจเวกฺขณา : อิต. ดู ปจฺจเวกฺขณ
  40. ขีณ : กิต. สิ้นไปแล้ว, หมดไปแล้ว; ทำลายแล้ว
  41. จิตฺตเปกฺขณ, - เปกฺขุณ : ค. มีปีกหลากสี, มีปีกสวยงาม
  42. ติลกฺขณ : (นปุ.) ลักษณะอันเป็นเครื่อง กำหนดสาม, ลักษณะสำหรับพิจารณา สาม, ลักษณะสาม, ไตรลักษณะ, ไตร- ลักษณ์ คือลักษณะที่เป็นสามัญทั่วไปแก่ สังขาร ทั้งหลายมี ๓ คือ อนิจฺจตา ทุกขฺตา อนตฺตตา. ส. ตฺริลกฺษณ ไตฺรลกฺษณฺ.
  43. ปจฺจเวกฺขณ : นป. การพิจารณา, การไตร่ตรอง
  44. ปริกฺขณ : นป. การตรวจตรา, การสอบสวน, การพิจารณา, การทดสอบ
  45. เปกฺขณ : นป. การเพ่งดู
  46. อติขณ : นป. การขุดให้ลึก
  47. อนตฺตลกฺขณ : (นปุ.) ลักษณะอันเป็นอนัตตา.
  48. อนตฺตลกฺขณสุตฺต : (นปุ.) อนัตลักขณะสูตรชื่อพระสูตรซึ่งพระพุทธเจ้าทรงแสดงแก่พระเบญจวรรคึย์.
  49. อนุขณติ : ก. ขุด, เจาะลงไป
  50. อนุปลกฺขณ : ค. หาการกำหนดมิได้
  51. [1-50] | 51-63

(0.0236 sec)