Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ขาด , then ขาด, ขาต .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ขาด, 110 found, display 1-50
  1. ฉิชฺชติ : ๑. ก. อันเขาตัด, อันเขาทำให้แตก, อันเขาฉีก, อันเขาทำให้ขาด, อันเขาทำลาย, อันเขาเจาะ; ๒. ตัด, แตก, ฉีก, ขาด, ทำลาย
  2. เฉท เฉทน : (วิ.) ตัด, โกน, บั่น, ทอน, เฉือน, เชือด, แขวะ, ควัก, ขาด, ทะลุ, แตก, ทำลาย, สลาย. ฉิทิ เทฺวธากรณฉิชฺชเนสุ, อ, ยุ.
  3. ขาต : (นปุ.) ตระพัง (แอ่ง บ่อ หนอง) ตะพัง หรือสระพัง หรือกระพัง ก็เรียก, บ่อ, บ่อน้ำ, หนอง, หนองน้ำ, สระ, บึง. ขณุ ขนุ วา อวทารเณ, โต. แปลงที่สุดธาตุ เป็น อา.
  4. ขณฺฑ : (วิ.) หัก, ท่อน, ตัด, ขาด.
  5. กณฺฑรจฺฉินฺน : (ปุ.) คนเอ็นใหญ่ขาด.
  6. กณฺณ (จฺ) ฉินฺน : ค. คนหูแหว่ง, คนหูขาด
  7. กตฺตรสุปฺป : (นปุ.) กระด้งเก่า, กระด้งขาด, กระด้งร่องแร่ง.
  8. กิเลสวฏฺฏ : (ปุ. นปุ.) วนคือกิเลส, กิเลสวัฏ. กิเลสเป็นเหตุให้สัตว์วนคือท่องเที่ยวหรือ เวียนว่ายตายเกิดในภพต่าง ๆ เพราะเมื่อ กิเลสเกิดขึ้นแล้วเป็นเหตุให้ทำกรรมเมื่อทำ กรรมแล้วจะต้องได้รับผลของกรรมนั้น เมื่อเสวยผลของกรรมอยู่ กิเลสก็เกิดขึ้น อีก วนกันไปอย่างนี้ กว่าพระอรหัตต- มรรคจะตัดให้ขาดลง. ธรรมปริจเฉทที่ ๒.
  9. ฆน : (วิ.) ไม่ขาด, หนา, ชิด, หยาบ, แข็ง, ตัน, ทึบ, แท่งทึบ, แน่นอน, ปึก, แผ่น, ล่ำ, เป็นก้อน, เป็นกลุ่ม, เป็นกลุ่มเป็นก้อน, หมด, สิ้น. หนฺ พนฺธเน, อ, หสฺส, โฆ.
  10. จกฺกฉินฺน : ค. มีจักรอันขาดแล้ว; มีวงล้อหักเสียหายแล้ว
  11. เจโตวิมุตฺติ : (อิต.) ความหลุดพ้นด้วยอำนาจ แห่งใจ. ความหลุดพ้นที่มีสมาธิเป็น ปทัฏฐาน คือได้บรรลุฌานมาก่อนแล้วจึง บำเพ็ญวิปัสสนาต่อจนละกิเลสาสวะได้ เรียกว่า เจโตวิมุติ. ลำพังฌาน ไม่สามารถ ละกิเลสาสวะได้เด็ดขาด เป็นแต่สะกดไว้ อย่าเข้าใจผิด.
  12. ฉิชฺชน : (วิ.) ขาด, ทะลุ, แตก, สลาย, เสียหาย, ผิด. ฉิทฺ ธาตุ ในความตัด, ฯลฯ. ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ ยุ ปัจ. แปลง ทฺย เป็น ชฺช ยุ เป็น อน.
  13. ฉิทฺท : (วิ.) ขาด, ทะลุ, ฯลฯ ฉิทิ ฉิชฺชเน, โท. ฉิทฺทฺ กณฺณเภเท วา, อ.
  14. ฉินฺนกณฺณ : ค. ผู้มีหูขาด, ผู้มีหูแหว่ง, ผู้ไม่มีใบหู
  15. ฉินฺนปิโลติก : ค. ผู้มีผ้าขาดหรือไม่มีผ้า
  16. ฉินฺนภตฺต : ค. ผู้ไม่มีอาหาร, ผู้ขาดอาหาร, ผู้อดอาหาร
  17. ฉินฺนวาสนาปารุปน : (วิ.) ผู้มีผ้าสำหรับนุ่งและ ผ้าสำหรับห่มอันขาดแล้ว.
  18. ฉินฺนสสย : ค. ผู้มีความสงสัยขาดแล้ว, ผู้หมดความสงสัย
  19. ฉินฺนสาฏก : ป., ค. ผ้าหรือเครื่องประดับขาดแล้ว; ผู้มีผ้าหรือเครื่องประดับขาด
  20. ฉินฺนาส : ค. ผู้มีความหวังอันขาดแล้ว, ผู้หมดหวัง
  21. ฉินฺนิริยาปถ : (วิ.) ผู้มีอิริยาบถอันขาดแล้ว (คน เปลี้ย), ผู้มีอิริยาบถคืออันไปเป็นต้น อัน ขาดแล้ว. วิ. ฉินฺโน คมนาทิริยาปโถ โส ฉินฺนิริยาปโถ.
  22. ฉิยติ, ฉุฏติ, - เฏติ, ฏยติ : ก. ตัด, ทำให้ขาด, บั่น, ทอน
  23. ฉุรติ : ก. ตัด, ทำให้ขาด, บั่น, ทอน
  24. โฉรณ : นป. การตัด, การทำให้ขาด, การบั่น, การทอน, การฉีก
  25. ชวจฺฉินฺน : ค. ผู้มีเชาวน์อันขาดแล้ว, ผู้ไม่มีความว่องไว, ผู้ขาดความว่องไว
  26. ตฏี : (อิต.) ฝั่ง, ตลิ่ง, ตลิ่งชัน, ท่า, ริม, เหว, ริมเหว, ปากเหว, เขาขาด. ตฏฺ อุสฺสเย อ. ศัพท์หลังลง อี อิต.
  27. ตาลาวตฺถุตก : ค. ต้นตาลที่มีรากขาดแล้ว, ต้นตาลที่ถอนรากแล้ว
  28. ติสรณ : (นปุ.)ที่พึ่งสาม,สรณะสาม,ไตรสรณะ. ไตรสรณะคือ พระพุทธ พระธรรม และ พระสงฆ์ เป็นสรณะที่พึ่งสูงสุดของพุทธ ศาสนิกชน ๆ จะนับถือสิ่งอื่นสูงกว่าหรือ เทียบเท่าพระรัตนตรัยไม่ได้ ถือว่าขาด จากพระรัตนตรัย. ส. ไตรสรณ.
  29. เถยฺยสวาสก : (ปุ.) คนลักเพศ. คนลักเพศ คือคนที่ปลอมบวชเป็นภิกษุหรือสามเณร หรือคนที่บวชเอาเอง หรือภิกษุสามเณร ที่ทำผิดวินัยถึงขาดจากความเป็นบรรชิต แต่ยังครองผ้ากาสาวพัตรอยู่.
  30. ทกฺขิโณทก : (นปุ.) น้ำอันบุคคลพึงให้เพื่อทาน สมบัติอันเจริญ, ทักขิโณทก, ทักษิโณทก. เดิมคำนี้เป็นชื่อของน้ำที่เจ้าภาพถวายแด่ พระก่อนจะฉันภัตตาหาร เพื่อใช้บ้วนปาก ล้างมือหรือชุบมือ ( กรณีฉันด้วยมือ ) แต่ปัจจุบันนี้หมายถึงน้ำที่เจ้าภาพหลั่ง ( เทให้ใหลลงช้าๆ โดยไม่ขาดสาย ) เวลา ทำบุญ เพื่ออุทิศส่วนกุศลแด่ผู้ล่วงลับไป แล้ว หรือเป็นชื่อของน้ำที่เจ้าของสิทธิ์ หลั่งลง เป็นการแสดงการมอบของที่ไม่ สามารถยกได้ให้เป็นสิทธิ์ขาด อีกอย่าง หนึ่ง เป็นชื่อของเต้าน้ำ ราชาศัพท์ใช้ว่า พระเต้าษิโณทก คำกลอนมักตัดทักออก ใช้ว่า ษิโณทก.
  31. ทาต : ค. ซึ่งถูกตัด, ซึ่งถูกถอน, ซึ่งขาด
  32. ทิฏฺฐสโยชน : (นปุ.) กิเลสขาดเครื่องร้อยรัด คือทิฎฐิ, ความร้อยรัดคือทิฎฐิ, คสามร้อยรัดอันเกิดจากทิฎฐิ.
  33. ทิณฺณ : ค. ซึ่งแตก, ซึ่งทำลาย, ซึ่งแยก, ซึ่งขาดสาย
  34. นตฺถิกทิฏฺฐิ : อิต. ความคิดเห็นว่าไม่มีหรือขาดสูญ
  35. นตฺถิกวาท, - วาที : ป. ผู้มีปกติกล่าวว่าไม่มี, ผู้เชื่อในทฤษฎีที่ว่าไม่มีหรือขาดสูญ
  36. นิพฺพิริย : ค. ซึ่งขาดวิริยะ, หมดความเพียร, ขี้เกียจ, เชื่องช้า, อ่อนแอ
  37. นิรนฺตร : (วิ.) มีระหว่างออกแล้ว, หาระหว่าง มิได้, ไม่มีระหว่าง, ไม่ขาด, ไม่ขาดสาย, ไม่เว้นว่าง, ติดต่อกัน, ติดต่อกันไป, ติดต่อกันตลอดไป, เสมอ, หนา, ชิด, หยาบ. ส. นิรนฺตร.
  38. ปฏิวิรต : ค. ผู้งดเว้นแล้ว, ผู้เว้นขาดแล้ว
  39. ปฏิวิรติ : อิต. การงดเว้น, การเว้นขาด
  40. ปฏิวิรมติ : ก. งดเว้น, เว้นขาด
  41. ปมาท : (ปุ.) ความมัวเมา, ความเลินเล่อ, ความลืมตน, ความเผลอ, ความไม่เอาใจใส่, ความลืมสติ, ความประมาท. วิ. ปมชฺชนํ ปมาโท. ปปุพฺโพ, มทฺ อุมฺมาเท, โณ. ไทย ใช้ ประมาท เป็นกิริยาในความว่าขาด ความรอบคอบ, ขาดความระมัดระวังเพราะ ทนงตัว และดูหมิ่น ใช้เป็นนามว่า ความเลินเล่อ, การขาดความระมัดระวัง.
  42. ปริ : (อัพ. อุปสรรค) รอบ, โดยรอบ, ทั่วไป, กำหนด. ขาด, บ่อยๆ, อ้อม, เว้น อุ. ปริ ปพฺพตา เทโว วสฺสติ. ออก อุ. ปริ สาลาย อายนฺติ วาณิชา. เฉพาะ อุ. รุกฺขํ ปริ วิโชตติ จนฺโท.
  43. ปาราชิก : ๑. ป. อาบัติที่ทำให้ผู้ต้องขาดจากความเป็นภิกษุ; ๒. ค. ผู้แพ้, ผู้ล่วงละเมิดสิกขาบทสำคัญของภิกษุ
  44. ปิโลติกา : อิต. เศษผ้า, ผ้าขี้ริ้ว, ผ้าขาด, ผ้าเก่า
  45. ภวงฺคจิตตฺ : (นปุ.) จิตเป็นองค์แห่งภพ, จิตตกลงสู่กระแสภวังค์, จิตเป็นภวังค์, ภวังคจิต คือ จิตตกลงสู่กระแสภวังค์ เป็นอยู่โดยไม่รู้สึกตัว สืบต่อไว้ซึ่งภพ บังเกิดติดต่อกันดุจกระแสน้ำไหล ทำหน้าที่รักษาภพชาติให้ดำรงอยู่ อีกบรรยายหนึ่งจิตที่เกิดต่อจากปฏิสนธิ จิตทำหน้าที่รักษาภพชาติให้ดำรงอยู่เท่าที่อายุของสังขารจะอยู่ได้ในภพที่ปฏิสนธิ (เกิด) นั้น เกิดดับโดยไม่ขาดสายจนกว่าจะถึงจุติจิต (ตาย) จิตนั้นจะขาดจากภวังค์เมื่อขึ้นสู่วิถีรับอารมณ์ทางทวารทั้ง ๖ ก็ขาดจากภวังค์ เมื่อรับอารมณ์แล้ว จิตก็ตกกระแสภวังค์ต่อไป วนอยู่อย่างนี้.
  46. ภินฺนปฏ : นป. ผ้าขี้ริ้ว, ผ้าขาด
  47. ภินฺนสีล : ค. ผู้มีศีลขาด, คนศีลขาด
  48. มชฺฌิมสสาร : (ปุ.) สังสาร (การเวียนตายเวียนเกิด) อันมีในท่ามกลาง ได้แก่ การท่องเที่ยวไปในกามสุคติภูมิ ๗ (มนุษย์และสวรรค์ ๖ ชั้น) พระอนา -คามีตัดมัชฌิมสังสารได้ขาด.
  49. โลกายตฺติก : ค. ผู้นับถือนิกายโลกายัต, ผู้มีความเห็นว่าขาดสูญ
  50. วิปฺปหีน : กิต. ละขาดแล้ว
  51. [1-50] | 51-100 | 101-110

(0.0223 sec)