Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ข้างขึ้น, ข้าง, ขึ้น , then ขน, ขาง, ข้าง, ข้างขึ้น, ขึ้น .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ข้างขึ้น, 774 found, display 1-50
  1. สุกฺก สุกฺกปกฺข : (ปุ.) ฝ่ายขาว, ปักข์ขาว, ข้างขึ้น, สุกกปักข์, ศุกลปักษ์.
  2. สุกฺกปกฺข : ป. ข้างขึ้น
  3. ชุณฺหปกฺข : (ปุ.) ฝ่ายสว่าง, ฝ่ายขาว, ปักษ์ สว่าง, ปักษ์ขาว, ข้างขึ้น.
  4. กเสรุ : (ปุ.) กระจับ ชื่อพรรณไม้ชนิดหนึ่ง ขึ้น ลอยอยู่ในน้ำ มีฝักเป็นสองเขาคล้ายศรีษะ ควาย เมื่อแก่มีสีดำ ตกอยู่ที่พื้นดิน เนื้อ ข้างในขาว มีรสมัน, วิ. เก สยตีติ กเสรุ. กปุพฺโพ, สี สเย, รุ.
  5. กจฺฉพนฺธน : (นปุ.) ายกระเบน, หางกระเบน. โจงกระเบน เป็นชื่อชายผ้าที่ม้วนลอดขา แล้วเหน็บไว้ข้างหลัง การนุ่งผ้าแบบนี้เป็น ผืนผ้าธรรมดา กว้าง ๑ หลา ยาว ๒.๕๐ เมตร สำหรับคนเล็กเตี้ยถ้าเป็นคนสูงใหญ่ กว้าง ๑ x ๓ เมตร เอาผืนผ้าโอบรอบตัว จับชายผ้าให้เสมอกัน แล้วห้อยลง เอาหัว เข่าหนีบไว้มิให้ผ้าเลื่อน มือรีดผ้ามาถึงเอว รวบริมผ้าทำเป็นจุกไขว้กันแล้วเหน็บไว้ที่ สะดือ เรียกว่าพกแล้วจับชายผ้าที่หนีบไว้ ขึ้นมาม้วนขวา ค่อย ๆ ม้วน ม้วนไปรีดไป ให้แน่น พอผืนผ้ากระชัยตัวดีแล้ว ดึงลอด ขา โดยยกขาขวา หรือขาซ้ายขึ้นเล็กน้อย ดึงชายสุดที่ม้วนไว้ขึ้นเหน็บไว้ที่กลางหลัง เรียกผ้าที่ม้วนไปเหน็บไว้ อย่างนี้ว่า ชาย กระเบน หรือหางกระเบน.
  6. ฉตฺต ฉตฺร : (นปุ.) กาย, ร่างกาย, ร่ม (เครื่องสำหรับกางป้องกันแดดเป็นต้น). วิ. อาตปาทึ ฉาเทตีติ ฉตฺตํ ฉตฺรํ วา. ฉทฺ สํวรเณ อปวารเณ จ, โต, ตฺรโณ. ฉัต ฉัตร ชื่อของเครื่องกกุธภัณฑ์ อย่าง ๑ ใน ๕ อย่าง อีกอย่างหนึ่งเป็นชื่อของเครื่องสูง ทำเป็นชั้นๆ มีเสาเป็นแกน ชั้นใหญ่อยู่ ข้างล่าง ชั้นถัดขึ้นไปเล็กลงตามลำดับ ทำ ชั้นบ้าง ๕ ชั้นบ้างทำเป็น ๗ ชั้น สำหรับท่านผู้มีเกียรติอย่างสูง สำหรับพระ ราชาทำเป็น ๙ ชั้น ผู้อื่นจะทำเป็น ๙ ชั้น ไม่ได้ ส. ฉตฺร.
  7. ปมทวน : (นปุ.) สวนนางข้างใน ( สวนหลวง ทรงให้สร้างขึ้นเพื่อนางข้างใน ไม่ใช่เป็น ที่เที่ยวของชนอื่น ) วิ. ปมทานํ วนํ ปมทาวนํ. รัสสะ อา ที่ ทา เป็น อ.
  8. อุทย : (ปุ.) การขึ้น, การตั้งขึ้น, การโผล่ขึ้น, การเกิดขึ้น, อุทัย ชื่อภูเขาข้างบูรพทิศ, อุทัย การโผล่ขึ้นแห่งดวงอาทิตย์. อุปุพฺโพ, อยฺ คมเน, อ, ทฺอาคโม. ส. อุทย.
  9. ทิสา : (อิต.) ด้าน, ข้าง, ทิศ. ทิสฺ เปกฺขเณ, อ. อา อิต. ถ้าใช้คู่กับวิทิสา แปลว่า ทิศใหญ่ แปล วิทิสา ว่าทิศน้อย และยังใช้ในความหมายว่า บิดา มารดา คนให้ทาน และ พระนิพพาน. ส. ทิศ ทิศา.
  10. ปุร : (วิ.) สูง, หน้า, ข้าง, เบื้องหน้า, เป็นประธาน, เป็นหัวหน้า. ปุรฺ อคฺคคมเน, อ.
  11. สมารูหติ : ก.ไต่, ปีน, ขึ้น
  12. องฺกา : (อิต.) ตัก, พก, เอว, บั้นเอว, สะเอว, ข้าง, สีข้าง.
  13. อุป : (อัพ. อุปสรรค) เข้าไป, ใกล้, มั่น, สนิท, สนิธ, รอง, ข้าง, ข้างบน, เหนือ, ยิ่ง, ก่อน, เลว, ต่ำ. อุ. อุปฺขาริยํ โทโณ. โทณะต่ำ กว่า ขาริ. ส. อุป.
  14. อุสฺเสติ : ก. ลุกขึ้น, ขึ้น
  15. อฏฺฐมี : อิต. อัฏฐมี, ดิถีที่ ๘, ขึ้น – แรม ๘ ค่ำ
  16. อุทฺทโลมี : (ปุ.) เครื่องลาดขนสัตว์มีชายสอง ข้าง. วิ. อุทิตํ ทฺวีสุ โลมํ ทสา ยสฺสา สา อุทฺทโลมี. อิสฺสตฺตํ, ทฺวิตฺตํ. เป็น อุทฺทโลมิ อุทฺธโลมี บ้าง.
  17. ฐาปน : (นปุ.) การแต่งตั้ง, สถาปนา ( การยกย่องโดยแต่งตั้งให้สูงขึ้นเลื่อนให้สูง ขึ้น ). ส. สฺถาปน.
  18. ปรตีร : (นปุ.) ฝั่งอื่น, ฝั่งโน้น, ฟากโน้น . ฟาก คือ ฝั่ง, ข้าง.
  19. ปริปนฺถ : (ปุ.) อันตรายเป็นเครื่องเบียดเบียน รอบ, อันตรายในทางเปลี่ยว, ทางเปลี่ยว, หนทางเปลี่ยว, อันตราย อุ. โลโภ ธมฺมานํ ปริปนฺโถ. ปริปุพฺโพ, ปถิ คติยํ, อ, นิคฺคหิตาคโม. ๑ ค่ำ เดือน ๑๒ ถึนขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๑ ถ้าได้กรานกฐินมีกำหนด ๗ เดือน คั้งแต่แรม ๑ ค่ำ เดือน ๔ ถึง ขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๑ ไตร. ๒/๓๔.
  20. พาห : (ปุ.) แง้มแห่งประตู (แง้มคือริม, ข้าง), บานแห่งประตู, ราว. วหฺ ปาปุณเน, โณ. แปลว่า เกวียน ก็ได้.
  21. คุนฺทา : (อิต.) กะเม็ง, ต้นกะเม็ง, หญ้ากะเม็ง ชื่อของต้นหญ้าเล็กๆ ไม่มีแก่น ขึ้นตามที่ ชื้นแฉะ ใบเขียว มีขนคาย ดอกขาว ใช้ ทำยาเด็กเป็นต้น, หญ้าปากกา. คุ สทฺเท, โท, นิคฺคหิตาคโม.
  22. จงฺการ จงฺโคร : (ปุ.) นกกะปูด (ขนปีกแข็งอก ดำ ร้องเสียงปูดๆ เวลาน้ำขึ้น) นกปูด หรือ นกกดปูด ก็เรียก, นกออก, นกกาน้ำ, นก โพระดก.
  23. ภทฺทมุตฺต : (นปุ.) กะเม็ง ชื่อหญ้าต้นเตี้ยๆ ไม่มีแก่น ลำต้นสีม่วง ใบเขียวมีขนคายดอกขาว ชอบขึ้นในที่ชื้นแฉะ ใช้ทำยา, หญ้าปากกา. มุจฺ โมจเน, โต. โรคหรณตฺตา ภทฺทญฺจ ตํ มุตฺตญฺเจติ ภทฺทมุตฺตํ.
  24. เอกนฺตโลมี : (ปุ.) เครื่องลาดขนสัตว์มีชาย ข้างเดียว วิ. เอกสฺมึ อนฺเต ปริยนฺเต โลมํ ทสา อสฺสตฺถีติ เอกนฺตโลมี. อี ปัจ. ตทัส สัตถิตัท. รัสสะเป็น เอกนฺตโลมิ บ้าง.
  25. กตผณ : ค. มีพังพานชูขึ้นแล้ว, แผ่พังพานแล้ว (งู)
  26. กตสุกต : ค. ถูกสร้างขึ้นมาดี, ประกอบขึ้นดี
  27. กถา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องกล่าว, วาจาเป็น เครื่องกล่าวแสดง, คำพูด, คำกล่าว , คำ อธิบาย, ข้อประพันธ์, เรื่อง, กถา (สมุด หรือหนังสือที่แต่งขึ้น นิยายที่สำเร็จด้วย การแต่งขึ้น และมีความยืดยาว), ประพันธ กถาศาสตร์. วิ. กเถติ เอตายาติ กถา. กถียตีติ วา กถา. กถยเตติ วา กถา. กถนํ วา กถา. กถฺ กถเน วากฺยพนฺธเน จ, อ, อิตฺถิยํ อา. ส. กถา.
  28. กทาจุปตฺติก : ค. ซึ่งเกิดขึ้นในกาลบางครั้ง
  29. กปฺปิยโวหาร : (ปุ.) ถ้อยคำอันควร, ถ้อยคำ อันสมควร, กัปปิยโวหาร คือถ้อยคำที่ควรใช้พูด ถ้อยคำที่ภิกษุใช้พูดให้เหมาะ สมแก่ภาวะไม่ผิดพระวินัย ในเมื่อต้องการให้ผู้อื่น (มิใช่บรรพชิต) ทำสิ่งหนึ่งสิ่งใด เช่นพูดว่า หญ้าข้างกุฏิรกเด็กหรือคนวัด ถอนหรือดายหญ้าให้ ภิกษุไม่ต้องอาบัติใน เพราะพรากของเขียว ดังนี้เป็นต้น.
  30. กมฺมมูลก : ค. ซึ่งเกิดขึ้นเพราะมีกรรมเป็นมูล
  31. กมฺมสมฺภว : ค. เกิดขึ้นแต่กรรม, มีกรรมเป็นแดนเกิด
  32. กมฺมสมุฏฐาน : ค. อันเกิดขึ้นแต่กรรม
  33. กมฺมาภิสงฺขาร : (ปุ.) สภาพผู้ปรุงแต่งคือกรรม, การปรุงแต่งขึ้นด้วยกรรม, การปรุงแต่ง ขึ้นด้วยอำนาจแห่งกรรม.
  34. กรภ : (ปุ.) กรภะ ชื่อมือด้านข้างข้อมือและ นิ้วก้อยที่เด็กทำดุจศัตราประหารกันและ กัน, ข้างมือ, สันมือ, อูฐ. กรฺ หึสายํ กรเณ วา, อโภ. ส. กรภ.
  35. กลลรูป : นป. กลลรูป, รูปที่พึ่งมีขึ้นเมื่อตั้งครรภ์
  36. กากติตฺถา : อิต. กรรมที่เกิดขึ้นโดยบังเอิญ
  37. กากมาสก : (ปุ.) กากมาสกะ ชื่อคนที่บริโภค มากล้นขึ้นมาถึงขอบปาก จนนกกาอาจ จิกกินได้.
  38. กามูปปตฺติ : อิต. กามอุบัติ, การเข้าถึงกาม, การเกิดขึ้นแห่งกาม
  39. กายจลนสีสุกฺขิปนภมุกวิการาทิ : (วิ.) มีอัน ไหวแห่งกายและอันยกขึ้นซึ่งศรีษะและอัน กระทำต่างแห่งคิ้ว (การยักคิ้ว) เป็นต้น, มีอันกระดิกซึ่งกาย และอันสั่นซึ่งศรีษะ และอันยักซึ่งคิ้วเป็นต้น. เป็น ฉ. ตุล. มี ฉ. ตัป. ทุ. ตัป. และ อ. ทวัน. เป็นท้อง.
  40. กายสกฺขี : ค. ผู้มีตนเป็นพยาน, ผู้ยกตนขึ้นเป็นพยาน; ผู้บรรลุธรรมโดยยึดร่างกายเป็นเหตุ
  41. กาเรติ : ก. ให้ทำ; ขึ้นครอง (ราชย์)
  42. กาลจีวร : (นปุ.) ผ้าเกิดในกาล, กาลจีวร คือ ผ้าที่เกิดขึ้นแก่ภิกษุ ในกาลที่ทรงอนุญาต ตั้งแต่แรม ๑ ค่ำ เดือน ๑๑ ถึงกลาง เดือน ๑๒ ถ้าได้กรานกฐินเลื่อนไปถึง กลางเดือน ๔.
  43. กาลปกฺข : ป. ข้างแรมของเดือน
  44. กาลสมุฏฺฐ าน : (นปุ.) การตั้งขึ้นพร้อมแห่ง กาล, กาลสมุฏฐาน กาลสมุตถาน เรียกโรค ที่เกิดขึ้นเพราะธาตุไม่เป็นไปตามปกติ.
  45. กาฬปกฺข : (ปุ.) ข้างดำ, ฝ่ายดำ, ข้างแรม (ส่วนของเดือนทางจันทรคติ ตั้งแต่แรม ๑ ค่ำ ถึงสิ้นเดือน), กาฬปักข์, กาฬปักษ์. กาฬผลก
  46. กิริยตา : อิต. ความเป็นกิริยา (อาการ), สภาพของกรรมที่สร้างขึ้น, การกระทำ
  47. กิเลส เกฺลส : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องเศร้าหมอง, ธรรมเป็นเครื่องเศร้าหมองแห่งจิต, ธรรม อันยังจิตให้เศร้าหมอง, ความเศร้าหมอง ความเปรอะเปื้อน (แห่งจิต), ความลำบาก, ความเบียดเบียน, ความกำจัด, ความทำลาย, ความเผา, ความแผดเผา, ความทุกข์, ภาวะที่เกิดขึ้นในใจ และทำใจให้เศร้า หมอง, มลทิน (ของใจ), วิ. กิลิสฺสนฺติ เอเตหิ สตฺตาหิ กิเลสา. กิลิสนํ วา กิเลโส. กิลิสฺ กิเลสนวิพาธนอุปตาเปสุ, อ. ศัพท์ หลัง แปลง อิ เป็น เอ. นัยของวิปัสสนา ปทีปนีฎีกา.
  48. กิเลสวฏฺฏ : (ปุ. นปุ.) วนคือกิเลส, กิเลสวัฏ. กิเลสเป็นเหตุให้สัตว์วนคือท่องเที่ยวหรือ เวียนว่ายตายเกิดในภพต่าง ๆ เพราะเมื่อ กิเลสเกิดขึ้นแล้วเป็นเหตุให้ทำกรรมเมื่อทำ กรรมแล้วจะต้องได้รับผลของกรรมนั้น เมื่อเสวยผลของกรรมอยู่ กิเลสก็เกิดขึ้น อีก วนกันไปอย่างนี้ กว่าพระอรหัตต- มรรคจะตัดให้ขาดลง. ธรรมปริจเฉทที่ ๒.
  49. กิเลสวตฺถุ : นป. กิเลสวัตุ, วัตถุเป็นที่ตั้งขึ้นแห่งกิเลส
  50. กุตฺต : นป. สิ่งที่ถูกทำขึ้น; ความประพฤติ; อากัปกิริยา, กิริยาอาการที่มีเสน่ห์
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-774

(0.0811 sec)