Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ข้างหน้า, หน้า, ข้าง , then ขาง, ข้าง, ข้างหน้า, หนา, หน้า .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ข้างหน้า, 520 found, display 1-50
  1. ปุเร : (อัพ. นิบาต) ก่อน, ในก่อน, ในกาลก่อน, หน้า, ข้างหน้า.
  2. อคฺคโต : (อัพ. นิบาต) ก่อน, หน้า, ข้างหน้า.
  3. ปริมุข : ก. วิ. เฉพาะหน้า, ข้างหน้า
  4. เปจฺจ : (อัพ. นิบาต) ภพอื่น, ข้างหน้า, โลกหน้า, ภายหน้า. ที่ใช้เป็นกิริยา แปลว่าละไปแล้ว.
  5. ปุร : (วิ.) สูง, หน้า, ข้าง, เบื้องหน้า, เป็นประธาน, เป็นหัวหน้า. ปุรฺ อคฺคคมเน, อ.
  6. ปรโต : (อัพ. นิบาต) ข้างอื่น, ข้างหน้า.
  7. สาโลหิต : (ปุ.) คนผู้ร่วมสายเลือด, คนผู้ร่วมสายเลือดเดียวกัน, คนผู้นับเนืองในวงศ์ญาติ, ญาติสืบสาย, สาโลหิต, สายโลหิต. วิ. โลหิเตน สมฺพนฺโธ สาโลหิตโต. สมฺพนฺธสฺส สาเทโส, ปุพฺพนิปาโต จ. แปลง สมฺพนฺธ เป็น สา และตกไป (ยกไปไว้) ข้างหน้า.
  8. อฑฺฒ อทฺธ : (นปุ.) กึ่ง, ครึ่ง, ซีก, ส่วน, ภาค. เมื่อหมายเอาส่วนที่ไม่เท่ากันเป็น ปุ. ถ้า หมายเอาส่วนที่เท่ากันเป็น นปุ. วิ. อสติ เขเปติ สมุทายนฺติ อฑฺโฒ. อสุเขปเน, โต. แปลง ต เป็น ฑฺฒ ลบที่สุดธาตุ คำหลัง ดู อทฺธ ข้างหน้า. ส. อรฺทฺธ อรฺธ.
  9. ปาตุ : อ. ข้างหน้า, ปรากฏ, พอมองเห็นได้
  10. ปุรโต : (อัพ. นิบาต) ข้างหน้า, ในเบื้องหน้า, ก่อน.
  11. นฺยาส : ป. วางลง, หย่อนลง, นำไปข้างหน้า
  12. ปณิปตติ : ก. ฟุบลงเบื้องหน้า, หมอบลงข้างหน้า
  13. ปทหติ : ก. เริ่มตั้ง, ลงมือทำ, ทำความเพียร, พยายาม, เผชิญ, ต้านทาน, มุ่งไปข้างหน้า
  14. ปธาวติ : ก. วิ่งออกไป, วิ่งไปข้างหน้า, วิ่งถลันเข้าไปหา
  15. ปพฺภารทสก : นป. ระยะ ๑๐ ปี ที่มีกายเงื้อมไปข้างหน้า, วัยของคนอายุระหว่าง ๖๐ ถึง ๗๐ ปี
  16. ปยาติ : ก. ไปข้างหน้า, ออกเดินทาง, ดำเนินไป, เดินทางไป
  17. ปรกฺกม : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องก้าวไปยังคุณใน เบื้องหน้า, การก้าวไปสู่คุณในเบื้องหน้า, การก้าวไปข้างหน้า, ความก้าวไปข้างหน้า, ความเป็นคนกล้า, ( ไม่กลัวหนาว ฯลฯ ) , ความเพียร, ความบากบั่น, ความตะเกียกตะกาย ( พยายามทุกทางเพื่อให้ ประสบความสำเร็จ ) . วิ. ปรํ ปรํ ฐนํ อกฺกมตีติ ปรฺกกโม. ปรํ ปจฺจนึกภูตํ โกสฺชฺชํ อกฺกมตีติ วา ปรฺกกโม. ปรปุพฺโพ, กมฺ ปทวิกฺเขเป, อ. ซ้อน กฺ.
  18. ปรชฺชุ : (อัพ. นิบาต) ในวันอื่น, ในวันข้างหน้า.
  19. ปโร : อ. ข้างบน, ข้างหลัง, ไปเบื้องหน้า ; มากกว่า
  20. ปวิโลเกติ : ก. เหลียวดู, จ้องดู, มองไปข้างหน้า
  21. ปุริสปรกฺกม : ป. การก้าวไปข้างหน้าของบุรุษ, ความพยายามของบุรุษ
  22. ปุเรคามี : (วิ.) ผู้ไปก่อน, ผู้มีปกติไปก่อน, ผู้มีปกติไปข้างหน้า, ผู้เป็นหัวหน้า, ผู้นำ. ปุเร+คมฺ+ณี ปัจฺ ผู้ไปในเบื้องหน้า ปุร+คมฺ+ณี ปัจฺ ผู้มีปกติไปในเบื้องหน้า วิ. ปุเร คมนสีโล ปุเรคามี. ไม่ลบวิภัติของบทหน้า.
  23. ปุเรจาริก : (วิ.) ผู้ประกอบด้วยอันเที่ยวไปก่อน, ผู้ประ กอบด้วยอันเที่ยวไปในเบื้องหน้า, ผู้เป็นหัวหน้า, ผู้นำ. ณิกปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท. ผู้เที่ยวไปข้างหน้า, เป็นเครื่องนำหน้า, เป็นอารมณ์. ณิก ปัจ. สกัด.
  24. ปุเรชา : ค. วิ่งไปข้างหน้า
  25. พาหิราภิมุข : ค. ผู้มีหน้าเฉพาะต่อสิ่งที่มีในภายนอก, ผู้มุ่งหน้าสู่ภายนอก, ผู้มองไปข้างนอก
  26. สมฺปยาต : กิต.ไปข้างหน้า, เดินต่อไป
  27. สมาธิ : (ปุ.) ความตั้งมั่น, ความตั้งใจมั่น, ความตั้งมั่นด้วยดีแห่งจิต, ความตั้งมั่นด้วยดีในจิตในอารมณ์เดียว, ความไม่ส่ายไปแห่งจิต, ความสำรวมใจให้แน่วแน่, การตั้งจิตไว้ด้วยดีในอารมณ์เดียว, สมาธิ คือ ความที่จิตมีอารมณ์เป็นหนึ่ง ความที่จิตตั้งมั่นอยู่ในอารมณ์ใดอารมณ์หนึ่งโดยเฉพาะ ความที่จิตแน่วแน่อยู่ในอารมณ์ใดอารมณ์หนึ่งเฉพาะ ความที่จิตเพ่งอยู่สิ่งใดสิ่งหนึ่งโดยเฉพาะ. วิ. เอกาลมฺพเน สํ สุฏฐุ อาธานํ สมาธิ. สํปุพฺโพ, ธา ธารเณ, อิ. รูปฯ ๕๘๒ วิ. สมฺมา สมํ วา จิตฺตํ อาทธาตีติ สมาธิ. สมาธิใช้เป็นกุศลธรรมเป็นส่วนมากแต่ในที่บางแห่งท่านต้องการให้ชัดจึงเติมศัพท์ที่บ่งชัดไว้ข้างหน้าฝ่ายดี ท่านเติม สมฺมา เป็น สมฺมาสมาธิ ฝ่ายชั่ว ท่านเติม มิจฺฉา เป็นมิจฺฉาสมาธิ ดูคำ สติ ประกอบ. ส. สมาธิ.
  28. อกฺข อกฺขก : (ปุ.) ไหปลาร้า คือกระดูกทั้งคู่ที่อยู่ต้นคอข้างหน้าทั้งสองข้าง, รากขวัญ, กระดูกคร่อมต้นคอ. อกฺ คมเน, โข, สกตฺเถ โก.
  29. อโธ : (อัพ. นิบาต) เบื้องต่ำ, ข้างล่าง, เบื้องล่าง, เป็นเหฎฐาตถวาจกนิบาต.รูปฯว่าลงในอรรถสัตมีแปลว่าในเบื้องต่ำ, ฯลฯ.อโธเมื่อใช้เกี่ยวกับอักขระแปลว่าเอาพญัชนะไว้หน้าสระ.
  30. อนุกฺกมติ : ก. ก้าวไปตาม, ก้าวไปข้างหน้า
  31. อปูป : (ปุ.) แป้ง, ขนม. วิ.อการยุตฺโตปูโปอปูโป.ปูปศัพท์ลงออักษรข้างหน้าบางคัมภีร์ว่าลงอาอักษรแล้วรัสสะส.อปูปอปูปฺยอาปูปฺย.
  32. อภิกฺกม : (ปุ.) การก้าวไปข้างหน้า, การก้าวไปในเบื้องหน้า, การเดินไป.อภิปุพฺโพ, กมฺวิกฺเขเป, อ, กฺสํโยโค.
  33. อภิโต : (อัพ. นิบาต) ริม, ใกล้, เฉพาะหน้า, ทั้งสองข้าง, นิบาตลงในอรรถสัตตมี.อภิฯและรูปฯ.
  34. อมุตร : (อัพ. นิบาต) ภพอื่น, ภพหน้า, ภายหน้าข้างหน้า, ข้างโน้น.เป็นภวันตรัตถวาจก-นิบาต.ในที่อื่น, ฯลฯ, ในที่โน้นเป็นนิบาตลงในอรรถสัตตมี.
  35. อายตคฺค : ค. มีที่สุดอันพุ่งไปข้างหน้า
  36. อาโลเกติ : ก. แลไปข้างหน้า, จ้องดู, เพ่งดู
  37. อุทาสีน : (วิ.) เป็นกลาง (ไม่เข้าข้างฝ่ายใด ฝ่ายหนึ่ง), นั่งอยู่นอกพวก, นั่งนอกพวก. อุ อา บทหน้า สี ธาตุ อาน ปัจ. แปลง อาน เป็น อีน. ส. อุทาสีน.
  38. อุปริ : (อัพ. นิบาต) บน, ข้างบน, เบื้องบน, ด้าน, ด้านเหนือ, ล่วงไป, ในเบื้องบน, ณ เบื้องบน, ในเบื้องหน้า, ณ เบื้องหน้า. สตฺตมิยตฺเถ นิปาโต. เว้น อุ. อุปริ ปพฺพตา เทโว วสฺสติ. ฝนเว้นซึ่งภูเขาย่อมตก. รูปฯ ๒๙๘. ส. อุปริ.
  39. ตุณฺฑ : (นปุ.) ปาก, หน้า, จะงอย ( ปลายหรือ ที่สุดของปากสัตว์ดิรัจฉาน) , จะงอยปาก. ตุทิโตฑเน, อ, นิคฺคหิตาคโม. ตนุ วิตฺถาเร วา, โฑ, อสฺสุตฺตํ, นสฺส ณตฺตํ เป็น ตุณฺฑิ บ้าง ?
  40. ทิสา : (อิต.) ด้าน, ข้าง, ทิศ. ทิสฺ เปกฺขเณ, อ. อา อิต. ถ้าใช้คู่กับวิทิสา แปลว่า ทิศใหญ่ แปล วิทิสา ว่าทิศน้อย และยังใช้ในความหมายว่า บิดา มารดา คนให้ทาน และ พระนิพพาน. ส. ทิศ ทิศา.
  41. วทน : นป. การกล่าว; หน้า, ปาก
  42. องฺกา : (อิต.) ตัก, พก, เอว, บั้นเอว, สะเอว, ข้าง, สีข้าง.
  43. อุป : (อัพ. อุปสรรค) เข้าไป, ใกล้, มั่น, สนิท, สนิธ, รอง, ข้าง, ข้างบน, เหนือ, ยิ่ง, ก่อน, เลว, ต่ำ. อุ. อุปฺขาริยํ โทโณ. โทณะต่ำ กว่า ขาริ. ส. อุป.
  44. อานน : (นปุ.) ปาก, หน้า (หน้าตา), ช่อง, ประตูป่า.วิ.อนฺนติอสฺสสนฺติอเนนาติอานนํ.อนฺปาณเน, ยุ.อสฺภกฺขเณวา, ทีโฆ.แปลงสเป็นน.ส.อานน.
  45. กิญฺจลุก : (ปุ.) ไส้เดือน วิ. กิญฺจิจลตีติ กิญฺจลุ โก. กิญฺจิปุพฺโพ, จลฺ กมฺปเน, อุโก, จิโล โป. อภิฯ หน้า ๗๐๙.
  46. ขุปฺปิปาสา : (อิต.) ความหวังเพื่ออันกินและ ความหวังเพื่ออันดื่ม, ความหวังในอันกิน และความหวังในอันดื่ม, ความปรารถนาใน อันดื่ม, ความหิวและความกระหาย. วิ. ขุทฺทาสา จ ปิปาสา จ ขุปฺปิปาสา. ลบ บท หน้า เหลือ ขุ ซ้อน ปุ.
  47. ทณฺฑช : (วิ.) เกิดแต่อาชญา วิ. ทณฺฑโต ชาโต ทณฺฑโช. เป็นนามกิตก์ ทณฺฑ บท หน้า ชนฺ ธาตุ กฺวิ ปัจ. ก็ได้ เป็น ปัญฺจ. ตัป. ก็ได้.
  48. ปรตีร : (นปุ.) ฝั่งอื่น, ฝั่งโน้น, ฟากโน้น . ฟาก คือ ฝั่ง, ข้าง.
  49. ปรมฺปรโภชน : (นปุ.) โภชนะอันคนอื่นนิมนต์ ภายหลัง, โภชนะที่คนนิมนต์ทีหลัง. ภิกษุ รับนิมนต์ฉันไว้แห่งหนึ่ง แล้วไม่ไปฉัน กลับไปฉันที่เขานิมนต์ทีหลังอันเป็นเวลา เดียวกัน เรียกว่า ฉันเป็นปรัมประ ทรง ห้ามไว้ พุทธประสงค์ เพื่อรักษาศรัทธา ( หน้า ) ของทายกทายิกาผู้นิมนต์ก่อน. ปญฺจนฺนํ โภชนานํ อญฺญตเรน โภชเนน นิมนฺติโต ตํ ฐเปตฺวา อญฺญานํ ปญฺจนฺนํ โภชนา นํ อญฺญตรํ โภชนํ ภุญฺชติ. เอตํ ปรมฺปรโภชนํ นาม. ไตร. ๒/๓๒๐
  50. ปริกิตฺตีต : กิต. ประกาศแล้ว, ชี้แจงแล้ว, สรรเสริญแล้ว ก. ประกาศ, ชี้แจง, สรรเสริญ (หน้า 337)
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-520

(0.0710 sec)