Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ครั้ง , then ครง, ครั้ง .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ครั้ง, 94 found, display 1-50
  1. กาล : (ปุ.) สภาพผู้บั่นทอนคือ ยังชีวิตของสัตว์ ให้สิ้นไป วิ. สตฺตานํ อายุ กลยติ เขเปตีติ กาโล. กลฺ เขเป, โณ. สภาพผู้ทำชีวิตของสัตว์ให้น้อยลง ๆ ทุกวัน ๆ วิ. สตฺตานํ ชีวิตํ ทิวเส ทิวเส อปฺปํ อปฺปํ กโรตีติ กาโล. กรฺ กรเณ, โณ, รสฺส ลตฺตํ. อายุ, ยุค, กาล, สมัย, ครั้ง, คราว, หน, เวลา, การนับ, การคำนวณ. วิ. กลฺยเต อายุปฺปมาณาทโย อเนนาติ กาโล. กลฺ สํขฺยาเณ, โณ, การทำ วิ. กรณํ กาโร, โส เอว กาโล. อภิฯ. รูปฯ วิ. กรณํ กาโล. แปลง ร เป็น ล. ส. กาล.
  2. ขณ : (ปุ.) ครู่, ครั้ง, คราว, สมัย, เมื่อ (ครั้ง คราว), นาที, ขณะ, กษณะ. วิ. สตฺตานํ อายุ ขียติ หายติ เอตฺถ กาเลติ ขโณ. ขี ขเย, ยุ. ขณฺ หึสายํ วา, อ. ส. กฺษณ.
  3. ปตฺถาว : (ปุ.) โอกาส, ครั้ง, คราว, หน, รุ่น, ต้นเหตุ. ปปุพฺโพ, ถุ อภิตฺถเว,โณ. ตฺสํโยโค.
  4. สมย : (ปุ.) ขณะ, ครั้ง, ครา, คราว, หน, กาล, เวลา, ฤดู, โอกาส. วิ. สํ ปุนปฺปุนํ เอติ อยติ วาติ สมโย. สํปุพฺโพ, อิ อยฺ วา คติยํ, อ. การได้, การถึง, การเห็น, ความเห็น, ลัทธิ, มติ, ทิฏฐิ, ความพร้อมเพรียง, ความพร้อมเพรียงแห่งเหตุ, การณะ, เหตุการประชุม, หมวด, หมู่, กอง, คณะ. วิ. สมนฺตโต อยนํ คติ สมโย. การแทงตลอด, ฯลฯ. วิ. สํสุฎชุ สมฺมา วา อวิปริตากาเรน อยิตพฺโพ ญาตพฺโพติ สมโย. การละ, การสละ, การทิ้ง, การปล่อย, การวาง. ส. สมย.
  5. พุทฺธวสฺส : (ปุ. นปุ.) ปีของพระพุทธเจ้า. นับตั้งแต่พระพุทธเจ้าปรินิพพานมาครบ ๑๒ เดือน ครั้ง ๑ เป็นพุทธพรรษ พุทธสก ๑ ในสันสกฤต ได้รูปเป็น พุทธศักราช จึงใช้อักษรย่อปีซึ่งนับแต่พระพุทธเจ้าปรินิพพานว่า พ.ศ.
  6. พุทฺธสก : (นปุ.) ปีของพระพุทธเจ้า. นับตั้งแต่พระพุทธเจ้าปรินิพพานมาครบ ๑๒ เดือน ครั้ง ๑ เป็นพุทธพรรษ พุทธสก ๑ ในสันสกฤต ได้รูปเป็น พุทธศักราช จึงใช้อักษรย่อปีซึ่งนับแต่พระพุทธเจ้าปรินิพพานว่า พ.ศ.
  7. อสีติ : (อิต.) แปดสิบ. แปลง อฏฺฐกคือทส๘ครั้ง เป็นอสลง โย วิภัติแปลงโยเป็นอีติรูปฯ ๓๙๗.แปลง ทสที่บอกอรรถว่าสิบ ๘ ครั้ง เป็น อสแปลง โยเป็นอีติ รูปฯ ๓๙๘.ทส ที่แปลว่า สิบ ๒ ครั้งครั้ง ฯลฯ๙ ครั้งเป็นเอกเสสสมาส.
  8. กติกฺขตฺต : (อัพ. นิบาต) สิ้นครั้งเท่าไร, สิ้น คราวเท่าไร, สิ้นวาระเท่าไร, สิ้นกี่ครั้ง. กติ + กฺขตฺตํ ปัจ. ในอรรถ วาร. เป็น อัจจันตสังโยคะ โมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๑๑๕. กี่ครั้ง, กี่คราว, กี่หน. เป็นกิริยาวิเสสนะ.
  9. กทาจน : อ. บางครั้ง, บางคราว, ทันที
  10. กทาจิ : อ. บางครั้ง, บางคราว, ทันที
  11. กทาจิกรหจิ : อ. บางครั้ง, บางคราว, นานนานครั้ง
  12. กทาจุปตฺติก : ค. ซึ่งเกิดขึ้นในกาลบางครั้ง
  13. กรหจิ : (อัพ. นิบาต) ในกาลไหน ๆ, บางครั้ง. ส. กรหิจิตฺ.
  14. กรหิ : อ. ในกาลบางครั้ง, ในกาลบางคราว
  15. กลล : (นปุ.) กลละ กลลรูป ชื่อของการก่อตัว เริ่มแรกของสัตว์ คือเริ่มปฏิสนธิ เป็นรูป ครั้งแรกในครรภ์เป็นปรมาณู เล็กมาก วิ. กลํ ชรตํ ลาตีติ กลลํ. กลปุพฺโพ, ลา อา ทาเน, อ. กลฺ สงฺขฺยาเณ วา, อโล.
  16. กวล กวฬ กพล : (ปุ.) คำ คือของที่รวมเข้า หรือตะล่อมเข้า พอใส่ปากได้ครั้งหนึ่ง ๆ, คำข้าว. ส. กวก, กวล.
  17. กสฺสป : (ปุ.) กัสสป ชื่ออดีตพุทธะ ชื่อพระ เถระครั้งพุทธกาล ชื่อฤาษีผู้แต่งมนต์.
  18. กายกมฺม : (นปุ.) กรรมอันสัตว์ทำแล้วด้วยกาย, กรรมอันบุคคลทำแล้วด้วยกาย, วิ. กาเยน กตํ กมฺมํ กายกมฺมํ. การทำด้วยกาย วิ. กาเยน กมฺมํ กายกมฺมํ. กรรมอันไปแล้ว ในกายทวาร วิ. กายทฺวาเร ปวตฺตํ กมฺมํ กายกมฺมํ. กรรมทางกาย วิ. กาเยน กมฺมํ กายกมฺมํ. กายกรรม. กายกรรมที่ใช้ใน ภาษาไทย บางครั้งใช้ในความหมายว่าดัด ตนให้แข็งแรงด้วยท่าทางต่าง ๆ.
  19. กาลสต : นป. ร้อยชาติ, ร้อยครั้ง
  20. กุทา : อ. ในกาลไร? เมื่อไร? ในกาลบางครั้ง
  21. กุทาจน : (อัพ. นิบาต) ในกาลไหน, ในการไร, ในกาลบางครั้ง, ในกาลบางที, ในการไหน ๆ. วิ. กสฺมึ กาเล กุทาจนํ. กึ+ทาจนํ ปัจ. ลงในอรรถ กาลสัตตมี.
  22. กุทาจน, - น : อ. ในกาลไหนๆ, ในกาลบางครั้งบางคราว
  23. กุหิญฺจน : (อัพ. นิบาต) ใน...ไหน, ใน...ไร, ในบางครั้ง
  24. ขณิกสมาธิ : (ปุ.) สมาธิชั่วขณะ คือจิตที่ตั้งอยู่ ในอารมณ์เดียวชั่วครั้งชั่วคราว จิตที่นิ่งอยู่ ในอารมณ์เดียวชั่วคราว.
  25. ขตฺตุ : ก. วิ. ครั้ง, (ใช้ต่อหลังศัพท์สังขยา เช่น ติกฺขตฺตุ = สามครั้ง)
  26. จตุกฺขตฺตุ : (อัพ. นิบาต.) สิ้นสี่ครั้ง, สิ้นสี่คราว, สิ้นสี่หน. กฺขตฺตุ ปัจ. ลงในอรรถแห่งวาร ศัพท์ สัมพันธ์ว่า อัจจันตสังโยคะ วิ. จตฺตาโร วาเร จตุกฺขตฺตู กัจฯ ๖๔๖ รูปฯ ๔๐๓. สี่ครั้ง, สี่คราว, สี่หน. สัมพันธ์ เป็นกิริยาวิเสสนะ.
  27. จน, จน : อ. เป็นอสากัลยัตถวาจกนิบาตบ่งความเพียงบางส่วนเช่นในคำว่า กุทา+จน = กุทาจน = ในกาลบางคราว, บางครั้งบางคราว เป็นต้น
  28. ฉกฺกณฺณ : (ปุ.) มนต์มีมุมหก คือการปรึกษากัน สามคน ได้ยินกันหกหู. วิ. ติณฺณํ ชนานํ วิสยภูโต โส มนฺโต ฉกฺกณฺโณ นาม. ฉ กณฺณา เอตฺถาติ ฉกฺกณฺโณ. มนฺต แปลว่า การปรึกษา. ฉกฺขตฺตุ (อัพ. นิบาต) หกครั้ง, หกคราว, หก หน, สิ้นหกครั้ง,ฯลฯ. ดู จตุกฺขตฺตุ ประกอบ
  29. ฉกฺขตฺตุ : อ. หกครั้ง
  30. ตติย : ก. วิ. ครั้งที่สาม, คำรบสาม
  31. ตทา : อ. ในกาลนั้น, ในครั้งนั้น, เมื่อนั้น
  32. ตทา ตทานิ : (อัพ. นิบาต) ในกาลนั้น,ครั้งนั้น, คราวนั้น, เมื่อนั้น. วิ. ตสฺมึ กาเล ตทา ตทานิ วา. ต ศัพท์ ทา, ทานิ ปัจ. ตทา ใช้เป็นประธานบ้าง แปลว่า อ. กาลนั้น.
  33. ตาวตึส : (ปุ.) ดาวดึงส์ ชื่อสวรรค์ชั้นที่ ๒ ใน ๖ ชั้น, พิภพดาวดึงส์, ตรัยตรึงส์, ตรึงส์-ตรัย. วิ. เตตฺตึส ชนา นิพฺพตตนฺติ เอตฺถาติเตตฺตึโส. เตตฺตึโส เอว นิรุตฺตินเยน ตา วตึโส. แปลง เอ เป็น อย ทีฆะ อ ที่ ต เป็นอา แปลง ย เป็น ว หรือ แปลง เต เป็น ตาวลบ ตฺ สังโยค. ตาว ปฐม ตึสติ ปาตุภวตีติตาวตึโส. พื้นแผ่นดินใด เกิดปรากฏขึ้นในโลกเป็นครั้งแรกก่อน ( พื้นแผ่นดินอื่นๆ )พื้นแผ่นดินนั้น ชื่อดาวดึงส์.
  34. ติกฺขตฺตุ : (อัพ. นิบาต) สิ้นสามครั้ง, สิ้นสาม คราว, สิ้นสามหน. ติ+กฺขตฺตํ ปัจ. รูปฯ ๔๐๓. แปลเป็น กิริยาวิเสสว่า สามครั้ง, สามคราว, สามหน.
  35. ติกฺขตฺตุ : อ. สามครั้ง, สามคราว
  36. เตวาจิก : (วิ.) กล่าวสามครั้ง.
  37. ทฺวตฺติกฺขตฺตุ : อ. สองสามครั้ง, สองครั้งหรือสามครั้ง
  38. ทฺวิกฺขตฺต : (อัพ. นิบาต) สิ้นสองครั้ง, สิ้นสองคราว, สิ้นสองหน. ทฺวิ+ กฺขตฺตํปัจ. ลงในวาระศัพท์ รูปฯ ๔๐๓ . สองคราว, สองครั้ง. สองหน. สัมพันธ์เป็นกริยาวิเสสนะ.
  39. ทฺวิกฺขตฺตุ : อ. สองครั้ง
  40. ทฺวิติกฺขตฺตุ : (อัพ. นิบาต) สิ้นสองครั้งและ สิ้นสามครั้ง, สิ้นสองคราวและสิ้นสามคราว, สิ้นสองหนและสิ้นสามหน. วิ. ทวิกฺขตฺตุญฺจติกฺขตฺตุญฺจ ทฺวิติกฺขตฺตุ. รูปฯ ๔๐๓. แปลเป็นกริยาวิเสสนะว่าสองครั้งและสามครั้ง, ฯลฯ.
  41. ทสกฺขตฺต : (อัพ. นิบาต) สิ้นสิบครั้ง, สิ้นสิบ คราว, สิ้นสิบหน. ทส+กฺขตฺตํ ปัจ. ลงในวารศัพท์. แปลเป็นกริยาวิเสสนะว่าสิบครั้ง, ฯลฯ.
  42. ทสกฺขตฺตุ : อ. สิบครั้ง
  43. ทสชาติ : (อิต.) ชาติสิบ, ทศชาติ ชื่อคัมภีร์ ชาดก กล่าวด้วยเรื่องพระพุทธเจ้าครั้งยัง เป็นพระโพธิสัตว์ ตอนก่อนตรัสรู้ มี ๑๐ ชาติ
  44. ทิฎฺฐมตตก : (ปุ.) เพื่อนเห็น (เห็นกันครั้ง แรก ก็เป็นเพื่อนกัน) วิ. ทสฺสนํ ทิฎฺฐํ, ตํ มตฺตํ ปมาณ เมตสฺสาติ ทิฎฺฐมตฺตโก. ก สกัด.
  45. ทุติย : อ. ครั้งที่สอง
  46. ทุติยวาร : (ปุ.) ครั้งที่สอง, วาระที่สอง.
  47. เทฺววาจิก : ค. ซึ่งประกอบด้วยวาจาสอง; ผู้เปล่งวาจาสองหนคือ กล่าวถึงพระพุทธเจ้าหนหนึ่งพระธรรมหนหนึ่ง; (ญัตติ) ซึ่งตั้งสองครั้ง
  48. ธมฺมจกฺก : (นปุ.) ธรรมเพียงดังจักร, ล้อคือ ธรรม, ลูกล้อคือธรรม , ธรรมจักร. เรียก พระธรรมเทศนา ซึ่งพระพุทธเจ้าเทศน์ ครั้งแรกว่า พระธรรมจักร เป็นคำเรียก แบบย่อ.
  49. ธมฺมจกฺกปฺปวตฺตนสุตฺต : (นปุ.) ธรรมจัก- กัปปวัตตนสูตร ชื่อพระสูตรซึ่งพระพุทธ- เจ้าทรงแสดงครั้งแรกแก่พระเบญจวรรคีย์ เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ปฐมเทศนา.
  50. นทีกสฺสป : (ปุ.) นทีกัสสปะ นทีกัสสป ชื่อ ชฏิลคนกลางของชฏิลสามพี่น้อง ครั้งพุทธกาล.
  51. [1-50] | 51-94

(0.0247 sec)