Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ครั้งนั้น, ครั้ง, นั้น , then ครง, ครั้ง, ครั้งนั้น, นน, นั้น .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ครั้งนั้น, 304 found, display 1-50
  1. ตทา ตทานิ : (อัพ. นิบาต) ในกาลนั้น,ครั้งนั้น, คราวนั้น, เมื่อนั้น. วิ. ตสฺมึ กาเล ตทา ตทานิ วา. ต ศัพท์ ทา, ทานิ ปัจ. ตทา ใช้เป็นประธานบ้าง แปลว่า อ. กาลนั้น.
  2. อโถ : (อัพ. นิบาต) ลำดับนั้น, ครั้งนั้น, ภายหลังอนึ่ง, อนึ่งโสต, แล.แปลโดยอรรถ ว่าและบ้างรูปฯว่าใช้ในอรรถแห่งคำถามด้วย.
  3. อถโข : (อัพ. นิบาต) ครั้งนั้น, ครั้งนั้นแล, แต่, ถึงอย่างนั้น, ที่แท้, โดยแท้จริง, โดยแท้แล.
  4. อถ, อโถ : อ. ครั้งนั้น, ลำดับนั้น, ต่อไป, เช่นกัน
  5. ตทา : อ. ในกาลนั้น, ในครั้งนั้น, เมื่อนั้น
  6. ตาวตึส : (ปุ.) ดาวดึงส์ ชื่อสวรรค์ชั้นที่ ๒ ใน ๖ ชั้น, พิภพดาวดึงส์, ตรัยตรึงส์, ตรึงส์-ตรัย. วิ. เตตฺตึส ชนา นิพฺพตตนฺติ เอตฺถาติเตตฺตึโส. เตตฺตึโส เอว นิรุตฺตินเยน ตา วตึโส. แปลง เอ เป็น อย ทีฆะ อ ที่ ต เป็นอา แปลง ย เป็น ว หรือ แปลง เต เป็น ตาวลบ ตฺ สังโยค. ตาว ปฐม ตึสติ ปาตุภวตีติตาวตึโส. พื้นแผ่นดินใด เกิดปรากฏขึ้นในโลกเป็นครั้งแรกก่อน ( พื้นแผ่นดินอื่นๆ )พื้นแผ่นดินนั้น ชื่อดาวดึงส์.
  7. อเถกทิวส : (อัพ. นิบาต) ภายหลัง ณ วันหนึ่ง, ครั้นภายหลัง ณ วันหนึ่ง, ครั้นวันหนึ่ง.บางมติตัดเป็นอถ ครั้งนั้นเอกทิวสํ ในวันหนึ่งนักภาษาจะใช้แบบไหนก็สุดแต่ชอบ.
  8. เอกพิชี : (ปุ.) เอกพิชี ชื่อของพระโสดาบัน ๑ ใน ๓ ชื่อ, พระโสดาบันผู้มีพืชคือภพเดียว คือเกิดอีกครั้งเดียว ก็ได้สำเร็จเป็นพระ อรหันต์ และนิพพานในภพนั้น.
  9. เอโส : ค. นี้, นั่น, นั้น
  10. กาล : (ปุ.) สภาพผู้บั่นทอนคือ ยังชีวิตของสัตว์ ให้สิ้นไป วิ. สตฺตานํ อายุ กลยติ เขเปตีติ กาโล. กลฺ เขเป, โณ. สภาพผู้ทำชีวิตของสัตว์ให้น้อยลง ๆ ทุกวัน ๆ วิ. สตฺตานํ ชีวิตํ ทิวเส ทิวเส อปฺปํ อปฺปํ กโรตีติ กาโล. กรฺ กรเณ, โณ, รสฺส ลตฺตํ. อายุ, ยุค, กาล, สมัย, ครั้ง, คราว, หน, เวลา, การนับ, การคำนวณ. วิ. กลฺยเต อายุปฺปมาณาทโย อเนนาติ กาโล. กลฺ สํขฺยาเณ, โณ, การทำ วิ. กรณํ กาโร, โส เอว กาโล. อภิฯ. รูปฯ วิ. กรณํ กาโล. แปลง ร เป็น ล. ส. กาล.
  11. ขณ : (ปุ.) ครู่, ครั้ง, คราว, สมัย, เมื่อ (ครั้ง คราว), นาที, ขณะ, กษณะ. วิ. สตฺตานํ อายุ ขียติ หายติ เอตฺถ กาเลติ ขโณ. ขี ขเย, ยุ. ขณฺ หึสายํ วา, อ. ส. กฺษณ.
  12. ปตฺถาว : (ปุ.) โอกาส, ครั้ง, คราว, หน, รุ่น, ต้นเหตุ. ปปุพฺโพ, ถุ อภิตฺถเว,โณ. ตฺสํโยโค.
  13. สมย : (ปุ.) ขณะ, ครั้ง, ครา, คราว, หน, กาล, เวลา, ฤดู, โอกาส. วิ. สํ ปุนปฺปุนํ เอติ อยติ วาติ สมโย. สํปุพฺโพ, อิ อยฺ วา คติยํ, อ. การได้, การถึง, การเห็น, ความเห็น, ลัทธิ, มติ, ทิฏฐิ, ความพร้อมเพรียง, ความพร้อมเพรียงแห่งเหตุ, การณะ, เหตุการประชุม, หมวด, หมู่, กอง, คณะ. วิ. สมนฺตโต อยนํ คติ สมโย. การแทงตลอด, ฯลฯ. วิ. สํสุฎชุ สมฺมา วา อวิปริตากาเรน อยิตพฺโพ ญาตพฺโพติ สมโย. การละ, การสละ, การทิ้ง, การปล่อย, การวาง. ส. สมย.
  14. เอตฺตาวตก : (วิ.) มีประมาณเท่านี้, มีประมาณ เท่านั้น. วิ. เอตํ ปริมาณ มสฺสาติ เอตฺ ตาวตโก. เอต+อาวตก ปัจ. ซ้อน ต. คำ แปลแรกเป็น เอต ที่แปลงมาจาก อิม คำ แปลหลังเป็น เอต ที่แปลว่า นั่น, นั้น.
  15. กตภาว : (ปุ.) ความเป็นแห่ง.............นั้น เป็น....อัน....ทำแล้ว, ความเป็นแห่ง....นั้น อัน...ทำแล้ว, ความเป็นแห่ง...อัน...ทำแล้ว.
  16. : (ไตรลิงค์) เป็นปุริสสัพพนามและวิเสสน- สัพพนาม ต ศัพท์ที่เป็นปุริสสัพพนามเป็น ประถมบุรุษสำหรับออกชื่อคนและสิ่ง ของ ซึ่งผู้พูดออกชื่อถึง แปลว่า ท่าน เธอ เขา มัน นาย นาง เป็นต้น ต ศัพท์ที่ เป็นวิเสสนสัพพนาม แปลว่า นั้น.
  17. ตตฺตก : (วิ.) มีประมาณนั้น, มีประมาณเพียง นั้น. วิ. ตํ ปริมาณมสฺสาติ ตตฺตกํ ตฺตก ปัจ. รูปฯ ๓๖๙.
  18. ตทงฺควิมุตฺติ : (อิต.) ความหลุดพ้นด้วยองค์ นั้น ๆ, ฯลฯ คำแปลและ วิ. เลียนคำ ตทงฺคปหาน.
  19. ตทาตฺต ตทาตวฺ : (นปุ.) สิ่งอันเกิดแล้วในกาล นั้น วิ. ตสฺมึ เยว กาเล ชาตํ ตทาตฺตํ ตทาตฺวํ วา. ศัพท์หลังแปลง ต เป็น ว.
  20. ตห ตหึ : (อัพ. นิบาต) ใน.... นั้น. ต+หํ‚ หึ ปัจ.
  21. ทกฺขิณาวฏฺฏ : (ปุ. นปุ.) การเวียนไปทางขวา, ความเวียนไปทางขวา, การเวียนขวา, ทักษิณาวัฏ , ทักษิณาวรรต. การเดิน เวียนขวา เป็นการแสดงความเคารพ อย่างหนึ่ง. เวียนขวาหรือการเวียนขวา นั้น คือสิ่งที่เราจะเวียนอยู่ขวามือของเรา. ส. ทกฺษิณาวรฺต.
  22. เทวตานิ : (อิต. นปุ.) เทวดา. เทวตา เอว เทวตานิ. นิปัจ. สกัด. อภิฯ ว่า เทวตานิ ที่ เป็นปฐมา. เป็น อติ. ที่เป็น ทุติยา. เป็น อิต. และนปุ. อีกนัยหนึ่ง เทวตานิ ที่เป็น ปฐมาและทุติยา ว่าเป็น อิต. นั้น เพราะ แปลง โย วิภัตติเป็น นิ. อมรโกส ว่าเป็น ปุ. นปุ.
  23. เทสนาวิธีกุสลตา : (อิต.) ความที่แห่ง...นั้น เป็นผู้ฉลาดในวิธีแห่งการแสดง, ความที่ แห่งพระพุทธเจ้าทรงเป็นผู้ฉลาดในวิธี แห่งเทศนา.
  24. นวงฺคสตฺถุสาสน : (นปุ.) คำสั่งสอนของ พระศาสดามีองค์เก้า, นวังคสัตถุศาสน์. องค์ ทั้ง ๙ นั้น คือ สุตตะ๑ เคยยะ ๑ เวยยากรณะ คาถา ๑ อุทาน ๑ อิติวุตตกะ ๑ ชาดก อัพภูตธรรม ๑ เทวัลละ ๑.
  25. ปพฺพชฺชา : (อิต.) การเว้น, การละเว้น, การบวช, บรรพชา (การละเว้นจากการทำชั่ว ทุกอย่าง ). บรรพชานั้นต้องเว้นจากเมถุน ธรรม การบวชในศาสนาหรือลัทธิใดก็ตาม ถ้าเว้นจากกามกิจแล้วเรียกว่าบรรพชาได้. ความหมายของคำ ปพฺพชา นั้น คือการออกจากความเป็นฆราวาส ไปประพฤติตน เป็นนักบวช ต่อมามีพระบัญญัติให้ผู้ที่มี อายุยังไม่ครบ ๒๐ ปีบริบูรณ์บวช เรียกผู้ที่ บวชนั้นว่า สามเณร สามเณรี จึงแยกการบวชออกเป็น ๒ คือ บวชเป็นภิกษุ เรียกว่า อุปสมบท บวชเป็น สามเณร สามเณรี ว่า บรรพชา. ปปุพฺโพ, วชฺชฺ วชฺชฺเน, อ, อิตฺถิยํ อา. กัจฯ ๖๓๘ รูปฯ ๖๔๔ วิ. ปฐเมว วชิตพฺพาติ ปพฺพชฺชา. ปฐมปุพฺโพ, วชฺ คติยํ, โณฺย ภาวกมฺเมสุ. แปลง ชฺย เป็น ชฺช แปลง ว เป็น วฺว แล้วแปลงเป็น พฺพ. โมคฯ ลง ย ปัจ. ส. ปฺรวรชฺยา.
  26. พุทฺธวสฺส : (ปุ. นปุ.) ปีของพระพุทธเจ้า. นับตั้งแต่พระพุทธเจ้าปรินิพพานมาครบ ๑๒ เดือน ครั้ง ๑ เป็นพุทธพรรษ พุทธสก ๑ ในสันสกฤต ได้รูปเป็น พุทธศักราช จึงใช้อักษรย่อปีซึ่งนับแต่พระพุทธเจ้าปรินิพพานว่า พ.ศ.
  27. พุทฺธสก : (นปุ.) ปีของพระพุทธเจ้า. นับตั้งแต่พระพุทธเจ้าปรินิพพานมาครบ ๑๒ เดือน ครั้ง ๑ เป็นพุทธพรรษ พุทธสก ๑ ในสันสกฤต ได้รูปเป็น พุทธศักราช จึงใช้อักษรย่อปีซึ่งนับแต่พระพุทธเจ้าปรินิพพานว่า พ.ศ.
  28. ภวงฺคจิตตฺ : (นปุ.) จิตเป็นองค์แห่งภพ, จิตตกลงสู่กระแสภวังค์, จิตเป็นภวังค์, ภวังคจิต คือ จิตตกลงสู่กระแสภวังค์ เป็นอยู่โดยไม่รู้สึกตัว สืบต่อไว้ซึ่งภพ บังเกิดติดต่อกันดุจกระแสน้ำไหล ทำหน้าที่รักษาภพชาติให้ดำรงอยู่ อีกบรรยายหนึ่งจิตที่เกิดต่อจากปฏิสนธิ จิตทำหน้าที่รักษาภพชาติให้ดำรงอยู่เท่าที่อายุของสังขารจะอยู่ได้ในภพที่ปฏิสนธิ (เกิด) นั้น เกิดดับโดยไม่ขาดสายจนกว่าจะถึงจุติจิต (ตาย) จิตนั้นจะขาดจากภวังค์เมื่อขึ้นสู่วิถีรับอารมณ์ทางทวารทั้ง ๖ ก็ขาดจากภวังค์ เมื่อรับอารมณ์แล้ว จิตก็ตกกระแสภวังค์ต่อไป วนอยู่อย่างนี้.
  29. มหาพฺรหฺม : (ปุ.) มหาพรหม ชื่อพรหมชั้นที่ ๓ ใน ๑๖ ชั้น ชื่อภพเป็นที่เกิดที่อยู่ของพรหมชั้นที่ ๓ นั้น (มหาพรหม).
  30. โส : ส. นั้น ; เขาผู้ชาย
  31. อสีติ : (อิต.) แปดสิบ. แปลง อฏฺฐกคือทส๘ครั้ง เป็นอสลง โย วิภัติแปลงโยเป็นอีติรูปฯ ๓๙๗.แปลง ทสที่บอกอรรถว่าสิบ ๘ ครั้ง เป็น อสแปลง โยเป็นอีติ รูปฯ ๓๙๘.ทส ที่แปลว่า สิบ ๒ ครั้งครั้ง ฯลฯ๙ ครั้งเป็นเอกเสสสมาส.
  32. อาสตฺต : (วิ.) ตั้งหน้า, เอาใจใส่, มีเพียร, มีสิ่ง นั้น ๆ เป็นใหญ่. อาปุพฺโพ, สญฺชฺ สงฺเค, โต. แปลง ต เป็น ตฺต ลบ ญฺช.
  33. อินฺทิย อินฺทฺริย : (นปุ.) ความเป็นใหญ่, ร่าง กาย, ร่างกายและจิตใจ, กำลัง, กำลังกาย, อำนาจ, ความรู้สึก, สติปัญญา, ประสาท, หน้าที่, อินทรีย์ (ความเป็นใหญ่ในกิจ นั้น ๆ). วิ. อินฺโท อตฺตา, ตสฺส ลิงฺคํ อินฺทิยํ อินฺทริยํ วา. อิย ปัจ. อินฺทติ ปรมิสฺสริยํ กโรตีติ วา อินฺทิริยํ. อิทิ ปรมิสฺสริเย, อิโย. ศัพท์หลังแปลง ท เป็น ทฺร. ส. อินฺทริย.
  34. เอวเมว : (อัพ. นิบาต) อย่างนั้นอย่างนั้น, อย่าง นั้น ๆ, ฉันนั้นฉันนั้น, ฉันนั้น ๆ.
  35. เอว : (อัพ. นิบาต) เทียว, แล, นั่นเทียว, นั่น แล, นั่นเอง, อย่างเดียว, ทีเดียว, เท่านั้น, ทั้งนั้น, แน่นอน, แน่ละ, นั่นแหละ, นี่ แหละ, สักว่า, คือ, แน่, เด็ดขาด, ไม่เว้นละ.
  36. กฐินตฺถาร : ป. การกรานกฐิน, การขึงไม้สะดึง คือเอาผ้าที่จะเย็บเป็นจีวรขึงที่ไม้สะดึงและทำจีวรให้สำเร็จ, การทำจีวรให้สำเร็จด้วยประการนั้นเรียกว่าการกรานกฐิน
  37. กติกฺขตฺต : (อัพ. นิบาต) สิ้นครั้งเท่าไร, สิ้น คราวเท่าไร, สิ้นวาระเท่าไร, สิ้นกี่ครั้ง. กติ + กฺขตฺตํ ปัจ. ในอรรถ วาร. เป็น อัจจันตสังโยคะ โมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๑๑๕. กี่ครั้ง, กี่คราว, กี่หน. เป็นกิริยาวิเสสนะ.
  38. กทาจน : อ. บางครั้ง, บางคราว, ทันที
  39. กทาจิ : อ. บางครั้ง, บางคราว, ทันที
  40. กทาจิกรหจิ : อ. บางครั้ง, บางคราว, นานนานครั้ง
  41. กทาจุปตฺติก : ค. ซึ่งเกิดขึ้นในกาลบางครั้ง
  42. กปฺปนา : (อิต.) ความตรึก, ฯลฯ, กัลปนา ผลบุญที่ผู้ทำอุทิศให้แก่ผู้ล่วงลับไปแล้ว ที่ ดินหรือสิ่งของ ที่เจ้าของอุทิศผลประโยชน์ อันเกิดจากสิ่งนั้น ให้แก่วัดหรือพระ ศาสนา. ส. กลฺปนา.
  43. กปฺปุร กปฺปูร : (ปุ. นปุ.) การบูร ชื่อต้นไม้ ชนิดหนึ่งมีกลิ่นฉุนและรสร้อน อีกอย่าง หนึ่งเป็นชื่อของตัวยาที่กลั่นมาจากต้นไม้ นั้นเป็นเกล็ดสีขาวคล้ายพิมเสน.วิ. อตฺตโน คนฺเธน อญฺญํ  คนฺธํ กปตีติ กปฺปูโร. กปฺ หึสายํ, อูโร, ทฺวิตฺตํ. กปฺปติ โรคาปนเย สมตฺเถตีติ วา กปฺปูโร. กปฺปฺ สามตฺถิเย, อูโร. กัจฯ ๖๗๐ เวสฯ ๗๙๕ ลง อุรปัจ. อภิฯวิ. ตุฏฺฐิอุปฺปาเทตุ กปฺปตีติ กปฺปูรํ. กปฺปฺ สามตฺถิเย, อูโร. กปุ ตกฺโกลคนฺเธ วา, อูโร. ชื่อของต้นไม้เป็น ปุ. ชื่อของเกล็ด ที่กลั่นมาจากต้นไม้นั้นเป็น นปุ. พิมเสนก็ แปล. ส. กรฺปูร.
  44. กรหจิ : (อัพ. นิบาต) ในกาลไหน ๆ, บางครั้ง. ส. กรหิจิตฺ.
  45. กรหิ : อ. ในกาลบางครั้ง, ในกาลบางคราว
  46. กลล : (นปุ.) กลละ กลลรูป ชื่อของการก่อตัว เริ่มแรกของสัตว์ คือเริ่มปฏิสนธิ เป็นรูป ครั้งแรกในครรภ์เป็นปรมาณู เล็กมาก วิ. กลํ ชรตํ ลาตีติ กลลํ. กลปุพฺโพ, ลา อา ทาเน, อ. กลฺ สงฺขฺยาเณ วา, อโล.
  47. กวล กวฬ กพล : (ปุ.) คำ คือของที่รวมเข้า หรือตะล่อมเข้า พอใส่ปากได้ครั้งหนึ่ง ๆ, คำข้าว. ส. กวก, กวล.
  48. กสฺสป : (ปุ.) กัสสป ชื่ออดีตพุทธะ ชื่อพระ เถระครั้งพุทธกาล ชื่อฤาษีผู้แต่งมนต์.
  49. กายกมฺม : (นปุ.) กรรมอันสัตว์ทำแล้วด้วยกาย, กรรมอันบุคคลทำแล้วด้วยกาย, วิ. กาเยน กตํ กมฺมํ กายกมฺมํ. การทำด้วยกาย วิ. กาเยน กมฺมํ กายกมฺมํ. กรรมอันไปแล้ว ในกายทวาร วิ. กายทฺวาเร ปวตฺตํ กมฺมํ กายกมฺมํ. กรรมทางกาย วิ. กาเยน กมฺมํ กายกมฺมํ. กายกรรม. กายกรรมที่ใช้ใน ภาษาไทย บางครั้งใช้ในความหมายว่าดัด ตนให้แข็งแรงด้วยท่าทางต่าง ๆ.
  50. กาลสต : นป. ร้อยชาติ, ร้อยครั้ง
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-304

(0.0513 sec)