Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ความงมงาย, งมงาย, ความ .

Eng-Thai Lexitron Dict : ความงมงาย, more than 7 found, display 1-7
  1. superstition : (N) ; ความเชื่อในผีสางเทวดา ; Related:ความเชื่อในทางไสยศาสตร์, ความเชื่องมงาย, ความเชื่อถือในทางผิดๆ ; Syn:irrationality, idolatry, misbelief
  2. ability : (N) ; ความสามารถ ; Related:ความมีฝีมือ, ความมีทักษะ, สมรรถภาพ ; Syn:capability, expertness ; Ant:inability, unfitness
  3. abortion : (N) ; ความล้มเหลว ; Related:ความไม่สำเร็จ, ความไม่สามารถไปถึงจุดมุ่งหมาย ; Syn:failure, disaster
  4. absurdity : (N) ; ความไร้สาระ ; Related:ความน่าขัน, ความไม่เป็นเหตุเป็นผล ; Syn:nonsense, senselessness
  5. Eng-Thai Lexitron Dict : ความงมงาย, more results...

Thai-Eng Lexitron Dict : ความงมงาย, more than 7 found, display 1-7
  1. ความงมงาย : (N) ; credulity ; Related:blind faith, blind worship, gullibility ; Syn:การหลงเชื่อ ; Def:การหลงเชื่อโดยไม่มีเหตุผล หรือโดยไม่ยอมรับฟังความคิดเห็นหรือเหตุผลของผู้อื่น ; Samp:การบูชาราหูเป็นความงมงายที่ชาวบ้านเชื่อว่าทำแล้วช่วยให้ชีวิตดีขึ้น
  2. ความงมงาย : (N) ; credulity ; Related:blind faith, blind worship, gullibility ; Syn:การหลงเชื่อ ; Def:การหลงเชื่อโดยไม่มีเหตุผล หรือโดยไม่ยอมรับฟังความคิดเห็นหรือเหตุผลของผู้อื่น ; Samp:การบูชาราหูเป็นความงมงายที่ชาวบ้านเชื่อว่าทำแล้วช่วยให้ชีวิตดีขึ้น
  3. ความเชื่องมงาย : (N) ; superstition ; Syn:ความงมงาย ; Samp:ชาวบ้านยังมีความเชื่องมงายในเรื่องผีสางเทวดา
  4. งมงาย : (V) ; be credulous ; Related:be gullible, be unquestioning, be ignorant, be unconscious ; Syn:ไร้เหตุผล, โง่งมงาย, ขาดสติ ; Ant:มีเหตุผล, มีสติ ; Def:หลงเชื่อโดยไม่มีเหตุผล หรือโดยไม่ยอมรับฟังความคิดเห็นหรือเหตุผลของผู้อื่น ; Samp:พุทธศาสนาไม่สอนให้คนงมงายแต่สอนให้เชื่ออะไรด้วยปัญญา
  5. ความ : (N) ; content ; Related:information ; Syn:เนื้อความ, เรื่อง ; Samp:ผมให้แปลเอาความเท่านั้น ไม่ต้องใส่รายละเอียดมาก
  6. ความ : (N) ; case ; Related:lawsuit ; Syn:ข้อคดี ; Def:คดีที่ฟ้องร้องกันในโรงศาล ; Samp:คดีที่เป็นตัวอย่างการพิจารณาความอาญาเก็บไว้ในห้องสมุด
  7. กระแสความ : (N) ; content ; Related:subject matter ; Syn:ความ ; Samp:โปรดฟังเรื่องนี้ให้จบกระแสความก่อน ; Unit:ความ
  8. Thai-Eng Lexitron Dict : ความงมงาย, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : ความงมงาย, more than 5 found, display 1-5
  1. ความ : [คฺวาม] น. เรื่อง เช่น เนื้อความ เกิดความ; อาการ เช่น ความทุกข์ ความสุข; คดีที่ฟ้องร้องกันในโรงศาล; คํานําหน้ากริยาหรือวิเศษณ์เพื่อแสดงสภาพ เช่น ความตาย ความดี ความชั่ว.
  2. งมงาย : ก. หลงเชื่อโดยไม่มีเหตุผล หรือโดยไม่ยอมรับฟังความคิดเห็น หรือเหตุผลของผู้อื่น.
  3. ความคิด : น. สิ่งที่นึกรู้ขึ้นในใจ; ความรู้ที่เกิดขึ้นภายในใจ ก่อให้เกิดการแสวงหา ความรู้ต่อไป เช่น เครื่องบินเกิดขึ้นได้เพราะความคิดของมนุษย์; สติ ปัญญาที่จะทำสิ่งใดสิ่งหนึ่งอย่างถูกต้องและสมควร เช่น คนทำลาย ของสาธารณะเป็นพวกไม่มีความคิด.
  4. ความชอบ : น. คุณงามความดีที่ควรได้รับบําเหน็จรางวัล.
  5. ความเป็นความตาย : น. เรื่องสำคัญมาก เช่น เรื่องภาวะวิกฤตทางเศรษฐกิจ เป็นความเป็นความตายของชาติ.
  6. Royal Institute Thai-Thai Dict : ความงมงาย, more results...

Budhism Thai-Thai Dict : ความงมงาย, more than 5 found, display 1-5
  1. งมงาย : ไม่รู้เท่า, ไม่เข้าใจ, เซ่อเซอะ, หลงเชื่อโดยไม่มีเหตุผล หรือโดยไม่ยอมรับฟังผู้อื่น
  2. จริต : ความประพฤติ, พื้นนิสัย หรือพื้นเพแห่งจิตของคนทั้งหลายที่หนักไปด้านใดด้านหนึ่ง แตกต่างกันไปคือ ๑.ราคจริต ผู้มีจาคะเป็นความประพฤติปกติ (หนักไปทางรักสวยรักงาม มักติดใจ) ๒.โทสจริต ผู้มีโทสะเป็นความประพฤติปกติ (หนักไปทางใจร้อนขี้หงุดหงิด) ๓.โมหจริต ผู้มีโมหะเป็นความประพฤติปกติ (หนักไปทางเหงาซึม งมงาย) ๔.สัทธาจริต ผู้มีศรัทธาเป็นความประพฤติปกติ (หนักไปทางน้อมใจเชื่อ) ๕.พุทธิจริต ผู้มีความรู้เป็นความประพฤติปกติ (หนักไปทางคิดพิจารณา) ๖.วิตกจริต ผู้มีวิตกเป็นความประพฤติปกติ (หนักไปทางคิดจับจดฟุ้งซ่าน)
  3. ดิรัจฉานวิชา : ความรู้ที่ขวางต่อทางพระนิพพาน เช่นรู้ในการทำเสน่ห์ รู้ในการทำให้ถึงวิบัติ รู้เรื่องภูตผี รู้ในทางทำนาย เช่นหมอดู เป็นต้น เมื่อเรียนหรือใช้ปฏิบัติ ตนเองก็หลงเพลินหมกมุ่น ทั้งทำผู้อื่นให้ลุ่มหลง งมงาย ไม่เป็นอันปฏิบัติกิจหน้าที่และประกอบการตามเหตุผล
  4. อินทรีย์ : ความเป็นใหญ่, สภาพที่เป็นใหญ่ในกิจของตน, ธรรมที่เป็นเจ้าการในการทำหน้าที่อย่างหนึ่งๆ เช่น ตาเป็นใหญ่หรือเป็นเจ้าการในการเห็น หูเป็นใหญ่ในการได้ยิน ศรัทธาเป็นเจ้าการในการครอบงำเสียซึ่งความไร้ศรัทธาเป็นต้น 1) อินทรีย์ ๖ ได้แก่ อายตนะภายใน ๖ คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ 2) อินทรีย์ ๕ ตรงกับ พละ ๕ คือ สัทธา วิริยะ สติ สมาธิ ปัญญา ธรรม ๕ อย่างชุดเดียวกันนี้ เรียกชื่อต่างกันไป ๒ อย่าง ตามหน้าที่ที่ทำ คือ เรียกชื่อว่า พละ โดยความหมายว่า เป็นกำลังทำให้เกิดความเข้มแข็งมั่นคง ซึ่งธรรมที่ตรงข้ามแต่ละอย่างจะเข้าครอบงำไม่ได้ เรียกชื่อว่า อินทรีย์ โดยความหมายว่าเป็นเจ้าการในการครอบงำเสียซึ่งธรรมที่ตรงข้ามแต่ละอย่างคือความไร้ศรัทธา ความเกียจคร้าน ความประมาท ความฟุ้งซ่าน และความหลงงมงาย ตามลำดับ
  5. ความค้ำ : ในประโยคว่า เราจักไม่ทำความค้ำ ไปในละแวกบ้าน เดินเอามือค้ำบั้นเอว นั่งเท้าแขน
  6. Budhism Thai-Thai Dict : ความงมงาย, more results...

ETipitaka Pali-Thai Dict : ความงมงาย, more than 5 found, display 1-5
  1. ทิฏฺฐิปรามาส : ป. การลูบคลำด้วยทิฐิ, ความงมงายเพราะทิฐิ, ความเข้าใจผิดไปจากความจริงเพราะความเห็นผิด
  2. อสมฺโมส, - โมห : ป. ความไม่หลงลืม, ความมีสติ, ความไม่หลงงมงาย
  3. นินฺนาท : (ปุ.) การกึกก้อง,การบันลือ,ความ กึกก้อง, ความบันลือ, ความเกรียวกราว, เสียงกึกก้อง, เสียงบันลือ, เสียงสะท้าน, เสียงเกรียวกราว, นินาท, นฤนาท. วิ. ปุนปฺนปุนํ นาโท นินฺนาโท แปลง น เป็น นฺน แปลง อ ที่น ตัวต้นเป็น อิ ลงนิคคหิต อาคม แล้วแปลงเป็น นฺ.
  4. มิจฺฉาวิตกฺก : (ปุ.) ความดำริผิด, ความตรึกผิด, ความ คิดผิดจากคำสอนของศาสนา.
  5. เมตตา : (อิต.) ความรัก, ความรักกัน, ความเยื่อใย, ความปรารถนาดีต่อกัน, ความ หวังดีต่อกัน. มิทฺ สิเนเห, โต. แปลง อิ เป็น เอ ทฺ เป็น ตฺ มิตฺเต ภวา วา เมตฺตา. ณ ปัจ.
  6. ETipitaka Pali-Thai Dict : ความงมงาย, more results...

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : ความงมงาย, more than 5 found, display 1-5
  1. ความกระหาย : ปิปาสา, ตสฺสนํ
  2. ความกว้างขวาง : อายติ [อิ.]
  3. ความกำเริบ : กุปฺปนํ [นป.]
  4. ความกำหนัด : กามราโค [ป.]
  5. ความเกรงกลัวต่อบาป : โอตฺตปฺปํ [นป.]
  6. Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : ความงมงาย, more results...

(0.4465 sec)