Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ความช่วยเหลือ, เหลือ, ช่วย, ความ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ความช่วยเหลือ, 3786 found, display 1-50
  1. นิตฺรถรณ : (นปุ.) การช่วยเหลือ, ฯลฯ, ความช่วยเหลือ, ฯลฯ.
  2. นิปจฺจการ : ป. ความถ่อมตัว, ความเคารพ, ความเชื่อฟัง, ความสุภาพ, ความนับถือ, ความช่วยเหลือ
  3. ปติฏฺฐา : อิต. ที่พึ่ง, ที่อาศัย, ที่ยึดเหนี่ยว; ความค้ำจุน; ความช่วยเหลือ; ผู้ช่วยเหลือ
  4. ทยา : (อิต.) ความเอ็นดู, ความอนุเคราะห์, ความรัก, ความรักใคร่, ความกรุณา. วิ. ทยติ ปรทุกขํ อตฺตสุขญฺจ หึสตีติ ทยา. ทยฺ ทานคติหึสาทานรกฺขาสุ, อ. อธิบายความหมายของศัพท์ ทยา ตามอรรถของธาตุ ให้คือให้อภัยแก่สัตว์ ไป คือ จิตไปเสมอในคนดีคนชั่วและสัตว์เบียดเบียนคือ รบเร้าจิตเตือนให้ช่วยเหลือผู้อื่น. ส. ทยา.
  5. อนุกุลอนุกูล : (นปุ.) การอนุเคราะห์, การช่วยเหลือ, การเกื้อกูล, ความอนุเคราะห์, ฯลฯความโอบอ้อมอารี, ความเอื้อเฟื้อ, ความกรุณา.ส. อนุกูล.
  6. อนุกุล อนุกูล : (นปุ.) การอนุเคราะห์, การช่วย เหลือ, การเกื้อกูล, ความอนุเคราะห์, ฯลฯ ความโอบอ้อมอารี, ความเอื้อเฟื้อ, ความกรุณา. ส. อนุกูล.
  7. อวกมฺปน : (นปุ.) การอนุเคราะห์, การเอ็นดู, การช่วยเหลือ, ความอนุเคราะห์, ฯลฯ, ความกรุณา.อวปุพฺโพ, กมฺปฺจลเน, ยุ.
  8. อุปกรณ : (นปุ.) วัตถุเป็นเครื่องทำซึ่งความอุดหนุน, การอุดหนุน, การเกื้อกูล, การช่วยเหลือ, การส่งเสริม, ความอุดหนุน, ฯลฯ, เครื่องมือ, เครื่องใช้. อุปปุพฺโพ, กรฺ กรเณ, ยุ. ส. อุปกรณ.
  9. กาปญฺญ : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้อันคน ควรกรุณา, ความเป็นแห่งคนผู้ควรสงสาร. กปณ ศัพท์ ณฺย ปัจ. ภาวตัท. ทีฆะต้น ศัพท์ ลบ อ ที ณ ด้วยอำนาจ ปัจ. ได้รูป เป็น ณฺ ลบ ณฺ ของปัจ. เหลือ ย รวมกับ ณฺ ที่สุดศัพท์ เป็น ณฺย แปลง ณฺย เป็น ญฺญ.
  10. ขุปฺปิปาสา : (อิต.) ความหวังเพื่ออันกินและ ความหวังเพื่ออันดื่ม, ความหวังในอันกิน และความหวังในอันดื่ม, ความปรารถนาใน อันดื่ม, ความหิวและความกระหาย. วิ. ขุทฺทาสา จ ปิปาสา จ ขุปฺปิปาสา. ลบ บท หน้า เหลือ ขุ ซ้อน ปุ.
  11. ชคู : (ปุ.) สัตว์ผู้ถึงความเกิด (จากตาย) วิ. จุติโต ชาตึ คจฉตีติ ชคู. ชาตปุพฺโพ, คมฺ คติยํ, รู. ลบ ติ เหลือ ชา รัสสะ และลบ ที่สุดธาตุ.
  12. โยพฺพน : (นปุ.) ความเป็นแห่งเด็กหนุ่ม, ฯลฯ. ยุว+ณ ปัจ. พฤทฺธิ อุ เป็น โอ แปลง ว เป็น พ ซ้อน พฺ ลบ ณฺ เหลือ อ นฺ อาคม รูปฯ ๓๗๒.
  13. กรุณา : (อิต.) ความหวั่นใจ, ความหวั่นใจใน เมื่อผู้อื่นมีทุกข์, ความสงสาร, ความสงสาร คิดจะช่วยให้เขาพ้นทุกข์, ความเอ็นดู, ความปราณี, ความอนุเคราะห์, ความกรุณา, กรุณา. วิ. ปรทุกฺเข สติ สาธูนํ หทยกมฺปนํ กโรตีติ กรุณา. กรฺ กรเณ, อุโณ, กุโน วา, กโลโป, นสฺส ณตฺตํ. กํ สุขํ รุนฺธตีติ วา กรุณา. กปุพฺโพ, รุธิ อาวร เณ, อุโณ, ธิโลโป. กิรตีติ วา กรุณา. กิรฺ วิกฺขิปเน, อุโณ. กิณาตีติ วา กรุณา. กิ หึสายํ, รุโณ. กิรียตีติ วา กรุณา. กิรฺปสาร เณ, ยุ. กมฺปนํ กโรตีติ วา กรุณา. กรฺ กรเณ, ยุ. แปลง ยุ เป็น อณ รฺ อาศัย อ แปลง อ ที่ ร เป็น อุ อาอิต. ส. กรูณ.
  14. กายเวยฺยาวจฺจ : นป. การรับใช้ทางกาย; การช่วยเหลือด้วยกาย; หน้าที่บ่าว, หน้าที่ของคนใช้
  15. กายสงฺคห : ป. กายสงเคราะห์, การช่วยเหลือทางกาย
  16. กุจฺฉิวิตฺถมฺภน : นป. การค้ำจุนท้อง, การช่วยเหลือให้ลำไส้ปฏิบัติงานได้ตามปกติ (การย่อยอาหาร)
  17. ตุริยตาฬิตวาทิตนิคฺโฆสสทฺท : (ปุ.) เสียง กึกก้องโดยความไม่มีส่วนเหลือแห่ง ดนตรีอันบุคคลประโคมแล้วและเสียง กึกก้องโดยความไม่มีส่วนเหลือแห่ง ดนตรีอันบุคคลบรรเลงแล้ว. เป็น อ. ทวัน. มี ต.ตัป.วิเสสนบุพ.กัม.วิเสสนุต.กัม.ฉ.ตัป. วิเสสนบุพ.กัม. และ ฉ.ตัป. เป็นท้อง.
  18. นิจฺฉย : (ปุ.) ความหนักแน่น, ความรู้สึกหนักแน่น, ความตัดโดยไม่เหลือ, ความประสงค์อันบุคคลตัดโดยไม่เหลือ, ความแน่ใจ, ความแน่นอน, การชี้ขาด, การตัดสิน. นิปุพฺโพ, จยฺ คมเน, อ, ยุ. แปลง จ เป็น จฺฉ ฉิทิ เทฺวธากรเณ วา. แปลง อิ เป็น อ แปลง ท เป็น ย ซ้อน จฺ อีกอย่างหนึ่ง ตั้งนิบทหน้า ฉิ ธาตุใน ความตัดแปลง อิ เป็น เอ แปลง เอ เป็น อย ซ้อน จฺ หรือ จิ ธาตุในความสะสม แปลง อิ แล้วแปลง จ เป็น จฺฉ. ส. นิรฺณย.
  19. นิจฺฉยน : (นปุ.) ความหนักแน่น, ความรู้สึกหนักแน่น, ความตัดโดยไม่เหลือ, ความประสงค์อันบุคคลตัดโดยไม่เหลือ, ความแน่ใจ, ความแน่นอน, การชี้ขาด, การตัดสิน. นิปุพฺโพ, จยฺ คมเน, อ, ยุ. แปลง จ เป็น จฺฉ ฉิทิ เทฺวธากรเณ วา. แปลง อิ เป็น อ แปลง ท เป็น ย ซ้อน จฺ อีกอย่างหนึ่ง ตั้งนิบทหน้า ฉิ ธาตุใน ความตัดแปลง อิ เป็น เอ แปลง เอ เป็น อย ซ้อน จฺ หรือ จิ ธาตุในความสะสม แปลง อิ แล้วแปลง จ เป็น จฺฉ. ส. นิรฺณย.
  20. นิตฺถรก นิตฺกรณก : (วิ.) ผู้ช่วย, ช่วยเหลือ, ผู้รื้อ, ผู้รื้อถอน, ผู้ถอนออก, ผู้ถอนตน ออกจากทุกข์.
  21. นิปก : (วิ.) ผู้ยังกุศลกรรมให้สุกโดยไม่เหลือ (คือมีในตนให้สมบูรณ์), ปัญญาอัน ยังกุศลธรรมให้สุกโดยไม่เหลือ. วิ นิสฺเสสโต ปาเจติ กุสลธมฺเมติ นิปโก. นิปปุพฺโพ, ปจฺ ปาเก, อ, จสฺส โก.ผู้มี ปัญญาเป็นเครื่องรักษาซึ่งตนโดยไม่เหลือ, ผู้มีปัญญาเป็นเครื่องรักษาตน,ผู้มีปัญญา รักษาตน, ผู้รักษาตนให้สิ้นจากปฏิปักษ์. นิปุพฺโพ, ปา รกฺขเณ, อ, สกตฺเถ โก.ผู้ยัง ปฏิปักษ์ให้สิ้น วิ.นิปยติปฏิกฺขนฺติ นิปโก. นิปุพฺโพ, เป โสสเน, อ, สกตเถ โก.ผู้มี ไหวพริบ,ผู้ฉลาด,ผู้รอบคอบ,ผู้มีปัญญา, ผู้มีปัญญาแจ่มแจ้ง,ผู้มีความรู้,ผู้มีความ ตรัสรู้,ผู้มีญาน, ผู้มีปัญญาทำลายกิเลส. ไตร. ๓๐/๒๑๐.
  22. นิปตน : (นปุ.) การตกไปโดยไม่เหลือ, การตก, การหล่น, การล้ม, การตกไป, ฯลฯ, ความตก, ฯลฯ. นิปุพฺโพ, ปตฺ ปตเน, ยุ.
  23. นิปาต : (ปุ.) การตกไปโดยไม่เหลือ, การตก ไปในระหว่าง, การไม่เปลี่ยนแปลง, การประชุม, ความตก, ความตกไป, ความไม่เปลี่ยนแปลง, นิบาต คือคำเรียก อัพยย- ศัพท์มี ป เป็นต้น อีกอย่างหนึ่งเรียก คัมภีร์ในพระพุทธศาสนา. นิปุพฺโพ, ปตฺ ปตเน, โณ. อภิฯ ลง อ ปัจ. ส. นิปาต.
  24. นิปาตน : (นปุ.) การตกไปโดยไม่เหลือ, ฯลฯ, ความไม่เปลี่ยนแปลง.
  25. นิพฺพาณ นิพฺพาน : (นปุ.) ธรรมอันออกแล้ว จากตัณหา, ธรรมอันออกแล้วจากตัณหา เครื่องร้อยรัด, ธรรมอันออกไปแล้วจาก ตัณหาเครื่องร้อยรัด. วิ. วาฯโต วานโต วา นิกฺขนฺตํ นิพฺพาณํ นิพฺพานํ วา. รูปฯ วิ. วานโต นิกฺขนฺตํ นิพฺพานํ. ลบ กฺขนฺต แล้วกลับบทหน้าไว้หลัง แปลง ว เป็น พ ซ้อน พฺ ความออกจากตัณหา, ความออกไปจากตัณหา, ฯลฯ. วิ. วาณโต วานโต วา นิกฺขมนํ นิพฺพาณํ นิพฺพานํ วา. ธรรมออกแล้วจากวานะ, จิตออกแล้วจาก วานะ. วิ. นิกฺขนตํ วานโต นิพฺพานํ. นตฺถิ วา เอตฺถ วานํ นิพฺพานํ อัฏฐกถาปรมัตถ- ทีปนี. ความสงบ ความดับ ความดับสนิท (ของจิต). นิปุพฺโพ, วา อุปสเม, ยุ. ธรรม ปราศจากเครื่องรัอยรัด, จิตปราศจาก เครื่องร้อยรัด. นิปพฺโพ, วิ สํสิพฺพเน, ยุ. ความดับด้วยอันสำรอกโดยไม่เหลือ เพราะสิ้นตัณหาโดยประการทั้งปวง, ความดับสนิทจากกิเลสและกองทุกข์, แดนอันปราศจากสังขาร (เครื่องปรุงแต่ง), นิพพาณ, นิพพาน, พระนิพพาณ, พระ นิพพาน. วิ. นิพฺพายนนฺติ อริยชนา เอตสฺมินฺติ นิพฺพานํ. นิพฺพายนฺติ สพฺเพ วฏฺฏทุกฺขนสนฺตาปา เอตสฺมินฺติ วา นิพฺพานํ. ส. นิรฺวาณ.
  26. ปคฺคหิต : กิต. ยกย่องแล้ว, อุปถัมภ์แล้ว, ช่วยเหลือแล้ว
  27. ปริปท : (นปุ.) ข้อความรอบๆ , บทข้างเคียง คือคำหรือข้อความแวดล้อม เพื่อช่วยให้ เข้าใจความหมาย.
  28. ปริหาริก : ค. ผู้ปกครอง, ผู้ช่วยเหลือ, ผู้ดูแล
  29. เวยฺยาวจฺจ : นป. การขวนขวายช่วยเหลือ
  30. เวยฺยาวจฺจกร : ป. ผู้ทำการขวนขวายช่วยเหลือ
  31. สพฺพญฺญตา : (อิต.) ความเป็นแห่งสัตบุรุษผู้รู้ซึ่งสังขตธรรมและอสังขตธรรมทั้งปวงหาส่วนเหลือมิได้, ความเป็นแห่งพระพุทธะผู้ทรงรู้ซึ่งสังขตธรรมและอสังขตธรรมหาส่วนเหลือมิได้, สรรเพชุดา (ออกเสียงว่าสันเพ็ดชุดา). วิ. สพฺพ ฺญฺญุตา. สพฺพ ฺญฺญู+ตาปัจ. รัสสะ อู เป็น อุ. รูปฯ ๓๗๑.
  32. สพฺพฺญฺญุตญาณ สพฺพญฺญุตฺตญาณ : (นปุ.) ความรู้แห่งความเป็นแห่งสัตบุรุษผู้รู้ซึ่งสังขตธรรมและอสังขตธรรมทั้งปวงหาส่วนเหลือมิได้, ความรู้แห่งความเป็นแห่งพระพุทธะผู้ทรงรู้ซึ่งสังขตธรรมและอสังขตธรรมทั้งปวงหาส่วนเหลือมิได้, ญาณแห่งความเป็นพระพุทธะผู้ทรงรู้ซึ่งสังขตธรรมและอสังขตธรรมทั้งปวงหาส่วนเหลือมิได้. ว. สพฺพฺญฺญุตาย สพฺพฺญฺญุตฺตสฺส วา ญาณํ สพฺพฺญฺญุตญาณํ สพฺพ ฺญฺญุตต-ฺญฺาณํ วา. ศัพท์ต้น รัสสะ อา ที่ ตา เป็น อ. ญาณคือความเป็นแห่งพระสัพพัญญู วิ.สพฺพ ฺญฺญุตา เอว ฺญฺาณํ สพฺพ ฺญฺญุต ฺญฺาณํ. อถวา, สพฺพ ฺญฺญุตฺตํ เยว ฺญฺาณํ สพฺพ ฺญฺ-ญุตฺต ฺญฺาณํ.
  33. สุงฺก : (ปุ. นปุ.) ภาษี, อากร คือค่าธรรมเนียมที่รัฐบาลเรียกเก็บจากสิ่งที่เกิดจากธรรมชาติหรือสิ่งที่ทำขึ้นเพื่อการค้า, ส่วย คือของที่เรียกเก็บจากพื้นเมืองส่งเป็นภาคหลวงตามวีเรียกเก็บภาษีอากรสมัยโบราณ หรือเงินช่วยเหลือราชการที่กำหนดเรียกเก็บจากราษฎร สมัยก่อนชายที่ไม่ได้เป็นทหารจะต้องเสียส่วยให้รัฐบาลปีละ ๖ บาท. วิ. สํกติ เยน ตํ สุงฺกํ. สํก คมเน, อ.
  34. อนุคฺคณฺห : ค. อนุเคราะห์, ช่วยเหลือ
  35. อนุคฺคณฺหก : ค. อนุเคราะห์, ช่วยเหลือ
  36. อนุคฺคณฺหณ, อนุคฺคห : ป. การอนุเคราะห์, การช่วยเหลือ, การไม่รับ, การไม่ถือเอา
  37. อนุคฺคณฺหาติ, อนุคฺคณฺหติ : ก. อนุเคราะห์, ช่วยเหลือ
  38. อนุคฺคาหก : ค. ผู้ช่วยเหลือ, ผู้อนุเคราะห์
  39. อนุพล : นป. กำลังสนับสนุน, การสนับสนุน, การช่วยเหลือ; บริวาร
  40. อุตฺตรสาธก : ค. ซึ่งช่วยเหลือ, เป็นเพื่อน
  41. อุปกโรติ : ก. ช่วยเหลือ, อุดหนุน
  42. อุปตฺถมฺภ : ป. การอุปถัมภ์, การอุดหนุน, การช่วยเหลือ, การประคองไว้
  43. อุปถมฺถ อุปตฺถมฺภ : (วิ.) ค้ำ, ค้ำจุน, อุดหนุน, ช่วยเหลือ, ส่งเสริม, อนุเคราะห์.อุปปุพฺโพ, ถมฺภฺ ปติพนฺธเน, อ. ธรฺ ธารเณ วา, รมฺโภ. แปลง ธ เป็น ถ ลบ รฺ และลบตัวเอง (ร ของ รมฺภ) ศัพท์หลังซ้อน ตฺ.
  44. อุปสหรติ : ก. นำมาพร้อม, นำมารวมกัน, พิจารณา, เอาใจใส่, ช่วยเหลือ, เปรียบเทียบ
  45. โอปารมฺภ : ค. ซึ่งช่วยเหลือ, ซึ่งเจือจาน, อุปถัมภ์, น่าตำหนิ, น่าติเตียน
  46. อติริตฺต : (วิ.) ยิ่ง, มากยิ่ง, เหลือ, เหลือเฟือเดน.วิ.อติริจฺจตีติอติริตฺโต.อติปุพฺโพ ริจฺสุญฺญวิโยชนสมฺปฏิจฺฉนฺนคตีสุ, โต.
  47. อุตฺตาเรติ : ก. ให้ข้าม, ช่วย, ดึง, ลาก
  48. อุลฺลุมฺปติ : ก. ยกขึ้น, ช่วย
  49. นินฺนาท : (ปุ.) การกึกก้อง,การบันลือ,ความ กึกก้อง, ความบันลือ, ความเกรียวกราว, เสียงกึกก้อง, เสียงบันลือ, เสียงสะท้าน, เสียงเกรียวกราว, นินาท, นฤนาท. วิ. ปุนปฺนปุนํ นาโท นินฺนาโท แปลง น เป็น นฺน แปลง อ ที่น ตัวต้นเป็น อิ ลงนิคคหิต อาคม แล้วแปลงเป็น นฺ.
  50. มิจฺฉาวิตกฺก : (ปุ.) ความดำริผิด, ความตรึกผิด, ความ คิดผิดจากคำสอนของศาสนา.
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750 | 3751-3786

(0.1212 sec)