Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ความประพฤติ, ประพฤติ, ความ , then ความ, ความปรพฤต, ความประพฤติ, ประพฤติ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ความประพฤติ, 3798 found, display 1-50
  1. กุตฺต : นป. สิ่งที่ถูกทำขึ้น; ความประพฤติ; อากัปกิริยา, กิริยาอาการที่มีเสน่ห์
  2. จริต, - ตก : นป. จริต, ความประพฤติ, นิสัย; ชีวิต, ความเป็นอยู่
  3. จริย : (นปุ.) การเที่ยวไป, ความประพฤติ
  4. จารณ : ค., นป. ผู้เที่ยวไป, ผู้ประพฤติ; การให้เที่ยวไป, การจัดการ, ความประพฤติ
  5. นิคติ : อิต. เคราะห์กรรม, สถานะ, สภาวะ, ภาวะ, พฤติการณ์, ความประพฤติ
  6. นิยม : (ปุ.) การกำหนด, การหมายไว้, การจำ ศีล, ความกำหนด, ความแน่นอน, ความพร้อมกัน, ความประพฤติ, ความชอบ, ความนับถือ, วัตร, พรต, พรตที่ประพฤติ ตามกาล. นิปุพฺโพ, ยมุ อุปรเม, อ. คำนิยม ไทยใช้เป็นกิริยา ในความหมายว่า ชมชอบ ชื่นชม ยินดี ยอมรับ นับถือ. ส. นิยม.
  7. ปฏิปตฺติ : อิต. การปฏิบัติ, ข้อปฏิบัติ, ความประพฤติ
  8. วุตฺติ : อิต. ความเป็นไป, ความประพฤติ, การเลี้ยงชีพ
  9. อวจรณ : นป. นิสัย, ความประพฤติ, การงาน, ความเกี่ยวข้อง
  10. อาจาร : (ปุ.) มรรยาทอันบุคคลพึงประพฤติโดยเอื้อเฟื้อ, ความประพฤติ, ความประพฤติที่ดี, ความประพฤติไม่ล่วงละเมิดทางกายและทางวาจา, สีลสังวร, มารยาท, มรรยาท, มรรยาทอันดี, จรรยา, ขนบ, ธรรมเนียม, ระเบียบ, แบบแผน.ไตร.๓๕/๖๐๔.ส. อาจาร.
  11. อิริยนา : (อิต.) ความเป็นไป, ความประพฤติ, ความเป็นอยู่, ความเจริญอยู่. อิริยฺ วตฺตเน, ยุ.
  12. ญาตตฺถจริยา : (อิต.) ความประพฤติเป็นไป เพื่อประโยชน์แก่ญาติ, ความประพฤติ เป็นประโยชน์แก่ญาติ, ความประพฤติ เพื่อประโยชน์แก่ญาติ, ความประพฤติ ประโยชน์ของญาติ.
  13. สมุทาจรณ : นป. ความประพฤติ
  14. จริตฺต จริตฺร : (นปุ.) ความประพฤติ. ศัพท์แรก ต. ปัจ. แปลง ต เป็น ตฺต ศัพท์หลัง ตฺรณฺ ปัจ. อิ อาคม.
  15. จาร : (ปุ.) คนสอดแนม, การเที่ยวไป, การเป็น ไป, ความประพฤติ. จรฺ จรเณ, โณ.
  16. ปริจริยา : (อิต.) การบำเรอ, ฯลฯ. อิย ปัจ. ความประพฤติ. จรฺ จรเณ.
  17. จริยา : (อิต.) ความประพฤติ, กิริยาที่ควร ประพฤติ, จริยา, จรรยา. วิ. จรณํ จริยา. จริตพฺพนฺติ วา จริยา. จรฺ จรเณ, โณฺย, อิอาคโม. รูปฯ ๖๔๔. ส. จรฺยา.
  18. จาริตฺต : (นปุ.) ความประพฤติ, ความสมสู่ อู่. จาริตฺตํ อาปชฺชิตฺวา ถึงความสมสู่, จารีต. รูปฯ ๖๕๑ ให้ วิ. ว่า จริตานํ คโณ จาริตฺตํ. อถวา, จรนฺติ ตสฺมึ ปริปูริการิตายาติ จาริตฺตํ. จรฺ จรเณ, ณิตฺตปจฺจโย. ไทย จารีต คือสิ่งที่ประพฤติต่อๆ กันมาประเพ ณีที่ถือสืบต่อกันมาหรือการปฏิบัติที่ทำเป็น ประจำ มักพูดว่า จารีตประเพณีใครฝ่าฝืน ถือว่าเป็นผิดเป็นชั่ว.
  19. กลฺยาณจริต : ค. ผู้ประพฤติความดีงาม
  20. กายทุจฺจริต : (นปุ.) ความประพฤติชั่วอันสัตว์ ทำแล้วด้วยกาย, ความประพฤติชั่วอัน บุคคลทำแล้วด้วยกาย. วิ. กาเยน กตํ. ทุจฺจริตํ กายทุจฺจริตํ. ความประพฤติชั่ว ด้วยกาย, ความประพฤติชั่วทางกาย. วิ. กาเยน ทุจฺจริตํ กายทุจฺจริตํ.
  21. กายทุจฺจริตาทิปเวสนนิวารณตฺถาจาร : (วิ.) ผู้มีอาจาระอันเกียดกันเสีย ซึ่งความเข้าไปแห่งความประพฤติชั่วมีความประพฤติชั่ว ด้วยกายเป็นต้นเป็นประโยชน์. เป็น ฉ. ตุล. มี ต. ตัป. ฉ. ตุล, ฉ. ตัป. ทุ. ตัป. และ ฉ. ตุล. เป็นท้อง.
  22. กายทุจฺจริตาทิอกุสลกมฺมาภิรต : (วิ.) ผู้ยินดี ยิ่งแล้วด้วยกรรมมิใช่กุศลมีความประพฤติ ชั่วด้วยกาย เป็นต้น.
  23. กายทุฏฐุลฺล : นป. ความประพฤติชั่วหยาบทางกาย
  24. กายปโกป, - ยปฺปโกป : ป. ความกำเริบทางกาย, ความประพฤติผิดทางกาย
  25. กายวงฺก : ป. ความคดแห่งกาย, ความประพฤติที่ไม่ซื่อตรงทางกาย, กายทุจริต
  26. กายสมาจาร : (ปุ.) ความประพฤติดีด้วยกาย, ความประพฤติชอบด้วยกาย, ความประพฤติดีทางกาย. กายสิทฺธิ
  27. กายสุจริต : นป. กายสุจริต, ความประพฤติชอบทางกาย
  28. กิจฺจวตฺต : (นปุ.) ความประพฤติอัน...พึงทำ, ฯลฯ, ความประพฤติตามหน้าที่, เรียกกิจ ทางศาสนาที่จะพึงทำเป็นประจำ เช่น ทำ วัตรเช้า ทำวัตรเย็น เป็นต้นว่า กิจวัตร. กิจที่ทำเสมอ ๆ แม้มิใช่กิจทางศาสนาก็ เรียกกิจวัตรได้บ้าง ผู้เขียนมีความเห็นว่า ควรยกไว้เป็นศัพท์เฉพาะกิจทางศาสนา เหมาะกว่า.
  29. กุฏจริยา : (อิต.) ความประพฤติคด, ฯลฯ.
  30. กุสลสีล : นป. ศีลอันเป็นกุศล, ความประพฤติดี
  31. เขมจารี : (วิ.) ผู้ประพฤติซึ่งธรรมอันเกษม วิ. เขมํ จรตีติ เขมจารี, ผู้ประพฤติซึ่งธรรมอัน อันเกษมโดยปกติ วิ. เขมํ จรติ สีเลนาติ เขมจารี. ผู้มีความประพฤติซึ่งธรรมอัน เกษมเป็นปกติ. ผู้มีปกติประพฤติซึ่งธรรม อันเกษม วิ. เขมสฺส จรณสีโลติ เขมจารี.
  32. คามธมฺม : (ปุ. นปุ.) เรื่องของชาวบ้าน, กิจของ ชาวบ้าน, ความประพฤติของคนผู้มีปกติ อยู่ในบ้าน, ความประพฤติของชาวบ้าน, ความประพฤติของคนผู้มีปกติอยู่ในบ้าน, เมถุน (การร่วมสังวาส). วิ. คามวาสีนํ ธมฺโม อาจาโร คามธมฺโม.
  33. จรณวนฺตุ : ค. ผู้มีจรณะ, ผู้มีความประพฤติชอบ
  34. จาฏกมฺยตา : อิต. ความแกล้งประพฤติถ่อมตน, การประจบ, การสรรเสริญ, การเยินยอ
  35. จาปลฺย : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้ประดิษฐ์ ประดอย, ความเป็นแห่งบุคคลผู้ประพฤติ โดยพลัน, ความเป็นแห่งบุคคลผู้พลิก แพลง, ความเป็นแห่งบุคคลผู้โลเล, ฯลฯ. จปลสฺส ภาโว จาปลฺยํ. ณฺย ปัจภาวตัท. การชอบตกแต่ง, ฯลฯ. ณฺย ปัจ. สกัด.
  36. จิณฺณตฺต : นป. ความเป็นสิ่งที่เคยประพฤติมา, ธรรมเนียม, ประเพณี, นิสัย
  37. จิณฺณวสี : ค. ผู้มีความชำนาญอันตนประพฤติแล้ว, ผู้ปฏิบัติเชี่ยวชาญแล้ว
  38. ญาณจริยา : (อิต.) ความประพฤติเพื่อความรู้. ความประพฤติเพื่อความรู้ชื่อว่าญาณจริยา เพราะอรรถว่า ประพฤติไม่มีราคะไม่มี โทสะและไม่มีโมหะ.
  39. ตชฺชนียกมฺม : (นปุ.) กรรมอันสงฆ์พึงทำแก่ ภิกษุผู้อันสงฆ์จะต้องคุกคาม, ตัชนียกรรม เป็นชื่อการลงโทษอย่างหนึ่งตามพระวินัย ซึ่งสงฆ์ทำแก่ภิกษุผู้มีความผิด ๓ ประการ คือ เป็นผู้ประพฤติไม่เหมาะสม คือ ๑ . ๑ มักทำการบาดหมาง ทะเลาะ – วิวาท ฯลฯ ๑ . ๒ เป็นพาลมีอาบัติมาก มีมรรยาท ไม่สมควร ๑ . ๓ คลุกคลีกับคฤหัสถ์อันไม่ สมควร เป็นผู้มีศีลวิบัติ อาจารวิบัติ และ ทิฏฐิวิบัติ และ ๓. กล่าวติเตียน พระพุทธ พระธรรม หรือพระสงฆ์ แม้อย่างใดอย่างหนึ่ง ก็ ลงตัชนิยกรรมได้ สงฆ์ทำด้วยวิธีญัติติจตุตถกรรมวาจา ไตร. ๖/๓
  40. ตสฺสปาปิยสิกากมฺม : (นปุ.) กรรมอันสงฆ์ พึงทำแก่ภิกษุรูปนั้นผู้เป็นบาป (ปกปิด ความประพฤติชั่วของตนด้วยการพูดเท็จ).
  41. ทนฺธายนา : อิต. ความประพฤติช้า, ความเชื่องช้า, ความงุ่มง่าม
  42. ทีฆโสตฺติย : (นปุ.) ความเป็นคนแห่งคนผู้ประ พฤติช้า, ความเป็นคนประพฤติช้า, ฯลฯ, ณีย ปัจ. ภาวตัท.
  43. ทุจฺจริต : (นปุ.) ความประพฤติชั่ว, ความประพฤติเสียหาย, บาป. วิ. ทุ กุจฺฉิตํ จริตํ ทุจฺจริตํ. สารัตถทีปนี วิ. ทุฏฐ จริตํ ทุจฺจริตํ. วิเสเสหิ วา ทูสิตํ จริตนฺติ ทุจฺจริตํ. ทูสิต นั้นคือ ทุสฺ โทสเน, โต, อิอาคโม, ทีโฆ. คำ ทุจจริตนี้ ไทยใช้ว่า คดโกง, ฯลฯ. ส. ทุรฺศฺจริต ทุรฺจริต.
  44. ทูรวิหารวุตฺตี : ค. (คฤหัสถ์กับภิกษุ) มีความเป็นอยู่และความประพฤติไกลกัน, สภาพความเป็นอยู่ต่างกันมาก
  45. ธมฺมจริยา : (อิต.) ความประพฤติซึ่งธรรม วิ. ธมฺมสฺส จริยา ธมฺมจริยา. ทุ.ตัป. การประพฤติเป็นธรร,ความประพฤติเป็นธรรม. วิ. ธมฺโม จริยา ธมฺมจริยา. วิเสสนบุพ. กัม. เจตนาเป็นเครื่องประพฤติซึ่งธรรม วิ. ธมฺมํ จรติ เอตายาติ ธมฺมจริยา. ญฺย ปัจ. ไม่ทีฆะ อิ อาคม รูปฯ ๖๔๔. การประพฤติธรรมคือการประพฤติปฏิบัติตามกุศลกรรมบท ๑๐.
  46. ธมฺมจารี : (วิ.) ผู้ประพฤติซึ่งธรรม วิ. ธมฺมํ จรตีติ ธมฺมจารี. ผู้ประพฤติซึ่งธรรมโดยปกติ. วิ. ธมฺมํ จรติ สีเลนาติ ธมฺมจารี. ผู้มีความประพฤติซึ่งธรรมเป็นปกติ วิ. ธมฺมํ จริดฺ สีล มสฺสาติ ธมฺมจารี. ผู้มีปกติ ประพฤติซึ่งธรรม วิ. ธมฺมสฺส จรณสีโลติ ธมฺมจารี. ธมฺมปุพฺโพ, จรฺ จรเณ, ณี.
  47. ธมฺมานุธมฺมาปฏิปตฺติ : (อิต.) การปฏิบัติซึ่ง ธรรมอันสมควรแก่ธรรม, การปฏิบัติ ธรรมสมควรแก่ธรรม, ธัมมานุธัมมปฏิบัติ คือการประพฤติความดีตามสมควรแก่ ฐานะและภาวะของตน.
  48. นิทฺทายน : (นปุ.) การประพฤติซึ่งความหลับ (กำลังนอนหลับ), ความหลับ. นิทฺทา + อาย+ยุ ปัจ.
  49. นิทฺทายนกาล : (ปุ.) กาล เป็นที่ประพฤติซึ่ง ความหลับ (เวลากำลังนอนหลับ).
  50. นินฺนิมิตฺต : (นปุ.) นินนิมิต (ไม่มีนิมิต) คือ ความประพฤติตามอำเภอใจ (ยทิจฺฉา).
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750 | 3751-3798

(0.2401 sec)