Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ความพยายาม, พยายาม, ความ , then ความ, ความพยายาม, พยายาม, วยายาม .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ความพยายาม, 3726 found, display 1-50
  1. ปโยค : (ปุ.) การประกอบ, ฯลฯ, การประกอบเข้า, ความพยายามเป็นเครื่องประกอบ, ความพยายาม, ฯลฯ, ประโยคเป็นชื่อของคำพูดที่ได้ความบริบูรณ์ตอนหนึ่งๆ อย่าง ๑ เป็นชื่อของความรู้เช่นเปรียญธรรม ๓ ประโยค อย่าง ๑ เป็นชื่อของการทำทางกายทางวาจา เรียกว่า กายประโยค วจีประโยค อย่าง ๑ วิ. ปยุชฺชนํ ปโยโค. ป+ยุชฺ+ณ ปัจ. แปลง ช เป็น ค. ส. ปฺรโยค.
  2. มาน : (ปุ.) การถือตัว, ความถือตัว, ความหยิ่ง, ความเย่อหยิ่ง, ความจองหอง, ความไว้ตัว, ความไว้ยศ, ความแข็ง, ความพยายาม, ความกล้า, ความตั้งใจจริง, ความสำคัญใจ, ใจ, ดวงใจ, จิตใจ. มนฺ ญาเณ, โณ. มาน ปูชายํ, อ.
  3. อนุปริสกฺกน : นป. การเวียนรอบ, การตะเกียกตะกาย; ความพยายาม
  4. อภิชีหนา : อิต. ความอุตส่าห์, ความพยายาม
  5. อายูหน : (นปุ.) ความหมั่น, ความพยายาม, ความขยัน.อูหฺวิตกฺเก, ยุ.
  6. อารภน : นป. การทำ, การเริ่มต้น, ความพยายาม
  7. อีหา : (อิต.) ความเพียร, ความพยายาม, ความหมั่น, ความขยัน, ความปรารถนา, ความใส่ใจ, ความเจริญ. อีหฺ เจตายํ, อ. อิ คมเน วา, โห. อถวา, อีหฺ เชฏฐายํ . ส. อีหา.
  8. อุฏฐาน : นป. การลุกขึ้น, ความพยายาม, การเริ่มตั้งความเพียร, ความบากบั่นของบุรุษ
  9. อุยฺยาม : (ปุ.) ความเพียร, ความหมั่น, ความพยายาม, ความขยัน, ความขยันขันแข็ง, การตั้งหน้าทำ. วิ. อุทฺธํ ยนฺติ เยน โส อุยฺยาโม. อุทฺธํปุพฺโพ, ยา คมเน, โม. ส. อุทฺยาม.
  10. วายาม : ป. ความพยายาม
  11. วฺยายาม : ป .ความพยายาม
  12. อาตปฺป : (ปุ.) ความยังกิเลสให้เร่าร้อน, ความเพียร, ความพยายาม. วิ.อาภุโสกายํจิตฺตญฺจตาเปตีติอาตปฺโป.อาปุพฺโพ, ตปฺสนฺตาเป, โณ, ทฺวิตฺตํ
  13. อุสฺสุกฺกติ : ก. ความขวนขวาย, พยายาม
  14. โครณ : นป. ความพยายาม, การฝึกฝน
  15. ปยตน : (นปุ.) ความพยายาม, ความหมั่น, ความขยัน, ปปุพฺโพ, ยตฺ ปฏิยตเน, ยุ.
  16. ปริสกฺกน : นป. ความพยายาม, ความตะเกียกตะกาย, ความทดลอง
  17. ยตน : นป. ความพยายาม, ความขวนขวาย
  18. อุสฺสุกฺก : นป. ความพยายาม, ความขวนขวาย
  19. กายปโยค : ก. การประกอบทางกาย, ความพยายามทางกาย
  20. ฉนฺทิก : ค. มีความพอใจ, มีความพยายาม
  21. ฉนฺทีกต : อิต. มีความพอใจ, มีความพยายาม
  22. ตทตฺถ : (อัพ. นิบาต) ความพยายามเพื่อประ – โยชน์แก่สิ่งนั้น วิ. ตสฺส อตฺถาย ตทตฺโถ (วายาโม). การทำเพื่อประโยชน์แก่สิ่งนั้น. ตทตฺถา (ภาวนา). จ.ตัป. รูปฯ ๓๓๖. ท หลัง ต ทั้ง ๕ ศัพท์นั้น คือ ทฺ อาคม.
  23. ทฬฺหนิกฺกม : ค. มีความเพียรมั่นคง, มีความพยายามเด็ดเดี่ยว
  24. นิโยค : (ปุ.) การประกอบเข้า, การพยายาม, การยึดถือ, การแต่งตั้ง, ความประกอบเข้า, ฯลฯ, คำสั่ง, แบบแผน. นิปุพฺโพ, ยุชฺโยเค, โณ, ชสฺส โค. ส. โยค.
  25. ปโยควิปตฺติ : อิต. ความวิบัติแห่งความพยายาม, ความไม่สำเร็จแห่งวิธีการ, การประกอบผิดทาง
  26. ปโยคสมฺปตฺติ : อิต. ความถึงพร้อมแห่งความพยายาม, ความสำเร็จแห่งการประกอบความพยายาม
  27. ปโยคสุทฺธิ : อิต. ความบริสุทธิ์แห่งความพยายาม, ความหมดจดแห่งการประกอบความพยายาม
  28. ปโยคหีน : ค. ซึ่งเสื่อมจากความพยายาม, ซึ่งบกพร่องในการประกอบความพยายาม
  29. ปรกฺกม : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องก้าวไปยังคุณใน เบื้องหน้า, การก้าวไปสู่คุณในเบื้องหน้า, การก้าวไปข้างหน้า, ความก้าวไปข้างหน้า, ความเป็นคนกล้า, ( ไม่กลัวหนาว ฯลฯ ) , ความเพียร, ความบากบั่น, ความตะเกียกตะกาย ( พยายามทุกทางเพื่อให้ ประสบความสำเร็จ ) . วิ. ปรํ ปรํ ฐนํ อกฺกมตีติ ปรฺกกโม. ปรํ ปจฺจนึกภูตํ โกสฺชฺชํ อกฺกมตีติ วา ปรฺกกโม. ปรปุพฺโพ, กมฺ ปทวิกฺเขเป, อ. ซ้อน กฺ.
  30. ปุพฺพปโยค : (ปุ.) การประกอบทั่วก่อน, ความประกอบก่อน, ประโยคแรก, บุพประโยค บุรพประโยค (ความพยายามเบื้องต้นของการทำ).
  31. ปุริสปรกฺกม : ป. การก้าวไปข้างหน้าของบุรุษ, ความพยายามของบุรุษ
  32. อนายูหน : นป. ความไม่พยายาม, ความไม่ขวนขวาย
  33. อปฺโปสฺสุกฺก : ค. มีความขวนขวายน้อย, ซึ่งไม่พยายาม
  34. อปฺโปสฺสุกตา : อิต. ความเป็นผู้ไม่ขวนขวาย, ความเป็นผู้ไม่พยายาม
  35. อโยค : ค. ไม่ประกอบความเพียร, ไม่มีความพยายาม, ไม่ตามประกอบ
  36. อวิริย : ค. ไม่มีความเพียรพยายาม
  37. อายูหก : ค. ผู้มีความเพียรพยายาม, ผู้มีความบากบั่น
  38. อารมฺภ : (ปุ.) ความเริ่มต้น, ความริเริ่ม, ความเริ่มแรก, ความปรารภ, ความเพียร, การเริ่ม, การเริ่มต้น, ฯลฯ.อาบทหน้ารภฺธาตุในความเริ่มพยายามอปัจ. นิคคหิตอาคม.
  39. อีหน : นป. อีหา อิต. ความเพียรพยายาม, ความขยัน, ความดำริ, ความรู้
  40. อุฏฐหน : นป. ความลุกขึ้น, ความเพียรพยายาม, ความขยัน
  41. อุฏฐายิกา : อิต. ความเพียรพยายาม, ความบากบั่น
  42. อุยฺยุต : ค. ซึ่งประกอบความเพียร, มีความพยายาม
  43. อุสฺโสฬฺหิกา : อิต. มีความพยายาม, มีความเพียร
  44. นิกฺกมติ : ก. ก้าวต่อไป, พยายาม
  45. ปทหติ : ก. เริ่มตั้ง, ลงมือทำ, ทำความเพียร, พยายาม, เผชิญ, ต้านทาน, มุ่งไปข้างหน้า
  46. ปริยุฏฺฐาติ : ก. ลุกขึ้น, แผ่ซ่าน, พยายาม
  47. พฺยาวฏ พฺยาวต : (วิ.) ขวน ขวาย, พยายาม, กระ ตือรือร้น. วิ อา ปุพฺโพ, วฏฺ เวฐเน, อ. ศัพท์หลัง แปลง ฏ เป็น ต.
  48. ยุญฺชติ : ก. ประกอบ, ก่อ, พยายาม
  49. อนุปริสกฺกติ : ก. เวียนรอบๆ, ตะเกียกตะกาย, พยายาม
  50. อารพฺภติ, อารภติ : ก. ทำ, ปรารภ, เริ่มต้น; พยายาม ; ร้ายกาจ, ประหาร, ต้องโทษ
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3726

(0.1736 sec)