Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ความรุนแรง, รุนแรง, ความ , then ความ, ความรนรง, ความรุนแรง, รนรง, รุนแรง .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ความรุนแรง, 3709 found, display 1-50
  1. นิฏฐุริย : นป. ความหยาบคาย, ความโหดร้าย, ความรุนแรง, ความแข็งกระด้าง
  2. ผารุลิย : นป. ความรุนแรง, ความเกรี้ยวกราด, ความไม่กรุณา
  3. พฺยาโรสนา : (อิต.) ความกริ้วกราด (โกรธมาก), กราดกริ้ว เกรี้ยวกราด (ดุและด่าอย่างรุนแรงด้วยความโกรธ). วิ. อา ปุพฺโพ, รุสฺ โรสเน, ยุ.
  4. กกฺขล กกฺขฬ : (วิ.) ชั่ว, ร้าย, ชั่วร้าย, แข็ง กล้าแข็ง, กระด้าง, หยาบ, หยาบช้า, หยาบคาย, ทารุณ, สาหัส, รุนแรง, ขรุขระ. วิ. กิพฺพิสํ กโรตีติ กกฺขโล กกฺขโฬ วา. กิพฺ พิสปุพฺโพ, กรฺ กรเณ, อ, กิพฺพิสโลโป, อิสฺส อตฺตํ, กรสฺส ขโร, รสฺส ลตฺตํ ฬตฺตํ วา, กฺสํโยโค. ส. กฐร.
  5. กฏุ : ค. แหลมคม, เข้มงวด, เผ็ดร้อน, รุนแรง, เจ็บแสบ
  6. กถิน : ค. ยาก, ลำบาก, รุนแรง
  7. นิฏฐุร : ค. หยาบคาย, โหดร้าย, รุนแรง, แข็ง, กระด้าง, สาหัส
  8. สารทฺธ : ๑. กิต. เริ่มแล้ว, ปรารภแล้ว; ๒. ค. ปั่นป่วน, รุนแรง
  9. สาหส : (วิ.) เป็นไปพลัน, ผลุนผลัน, ร้ายแรง, รุนแรง, เร็ว, พลัน, เร็วพลัน, ยิ่ง, นัก, ยิ่งนัก, สาหัส(หนักรุนแรง). สห (พล)+ ณ ปัจ. ลงในอรรถ ปภว สฺ อาคม.
  10. อติคาฬฺห : ค. หนาแน่น, หนัก, รุนแรง
  11. นินฺนาท : (ปุ.) การกึกก้อง,การบันลือ,ความ กึกก้อง, ความบันลือ, ความเกรียวกราว, เสียงกึกก้อง, เสียงบันลือ, เสียงสะท้าน, เสียงเกรียวกราว, นินาท, นฤนาท. วิ. ปุนปฺนปุนํ นาโท นินฺนาโท แปลง น เป็น นฺน แปลง อ ที่น ตัวต้นเป็น อิ ลงนิคคหิต อาคม แล้วแปลงเป็น นฺ.
  12. มิจฺฉาวิตกฺก : (ปุ.) ความดำริผิด, ความตรึกผิด, ความ คิดผิดจากคำสอนของศาสนา.
  13. เมตตา : (อิต.) ความรัก, ความรักกัน, ความเยื่อใย, ความปรารถนาดีต่อกัน, ความ หวังดีต่อกัน. มิทฺ สิเนเห, โต. แปลง อิ เป็น เอ ทฺ เป็น ตฺ มิตฺเต ภวา วา เมตฺตา. ณ ปัจ.
  14. ยุตฺติธมฺม : (ปุ.) ธรรมคือความถูกต้อง, ความเที่ยงธรรม, ความชอบธรรม, ความ ชอบด้วยเหตุผล.
  15. อฏฺฏ : (ปุ.) ความบีบคั้น, ความเบียดเบียน, ความวิบัติ, อันตราย, ความลำบาก, ความ(เรื่อง เนื้อเรื่อง อาการ คดีที่ฟ้องร้องกันในโรงศาล), คดี, คดีความ, อรรถคดี, ร้าน, ป้อม, หหอรบ, แม่แคร่, ยุติ.อฏฺฏฺอติกฺกมหึสาสุ, อ. ส. อฎฺฎ.
  16. นนฺท : (ปุ.) ความสำเร็จ, ความเพลิดเพลิน, ความยินดี, ความรื่นรมย์, ความรื่นเริง, ความสนุก, นันทะ ชื่อคน, นนฺทฺ สมิทฺธิยํ นนฺทเน วา, อ. ส. นนฺท.
  17. สมฺปหสน : (นปุ.) ความร่าเริงทั่วพร้อม, ความรื่นเริงทั่วพร้อม, ความร่าเริงเต็มที่, ความร่าเริง, ความรื่นเริง, ความยินดี, ความยกย่อง. สํ ป ปุพฺโพ, หํส ปีติยํ, ยุ, อ.
  18. สมฺปหสนา สมฺปหสา : (อิต.) ความร่าเริงทั่วพร้อม, ความรื่นเริงทั่วพร้อม, ความร่าเริงเต็มที่, ความร่าเริง, ความรื่นเริง, ความยินดี, ความยกย่อง. สํ ป ปุพฺโพ, หํส ปีติยํ, ยุ, อ.
  19. สมฺมท : (ปุ.) ความยินดี, ความรื่นเริง, ความบันเทิง. สํปุพฺโพ, มุท หาเส, อ. แปลง อุ เป็น อ. ส. สมฺมท.
  20. หสน : (นปุ.) ความร่าเริง, ความรื่นเริง, ความอิ่มใจ. หสฺ หํสฺ วา ปีติยํ, อ, ยุ. ถ้าตั้ง หสฺ ธาตุ พึงลงนิคคหิตอาคม.
  21. อาโมท : (ปุ.) ความร่าเริง, ความรื่นเริง, ความชื่นชม, ความยินดี.อาปุพฺโพ, มุทฺหาเส, โณ.
  22. : (ปุ.) พรหม อุ. กโมฬิ, กาย อุ. กํ อตฺตานํ, ลม อุ. กํ วาตํ, ชาย (คน) อุ. กํ ปุริสํ, นกยูง อุ. โก มยูโร, ความรุ่งเรือง อุ. โก โชติ.
  23. กกฺกรตา : อิต. ความกระด้าง, ความหยาบคาย, ความขรุขระ
  24. กกฺกริย : นป. ความหยาบคาย, ความกระด้าง
  25. กกฺกสฺส : ป. ความหยาบคาย, ความกระด้าง
  26. กกฺกาเรติ : ก. ทำเสียงกักๆ , แสดงความสะอิดเอียน
  27. กกฺขฬตฺต : นป. ความหยาบ, ความกระด้าง
  28. กกฺขฬิย : นป. ความแข็ง, ความหยาบ, ความเข้มงวด
  29. กกุธภณฺฑ : (นปุ.) กกุธภัณฑ์ ชื่อของใช้อัน เป็นเครื่องหมายแห่งความเป็นพระราชามี ๕ อย่างคือ มหาพิชัยมงกุฎ ๑ พระแสง ขรรค์ชัยศรี ๑ ธารพระกร ๑ วาลวีชนี ๑ ฉลองพระบาท ๑.
  30. กข กงฺข : (นปุ.) ความแคลง, ฯลฯ.
  31. กขา กงฺขา : (อิต.) ความแคลง, ความแคลงใจ, ความไม่แน่ใจ, ความเคลือบแคลง, ความกินแหนง, ความลังเล, ความสงสัย, ความสนเท่ห์. กขิ กํขฺ วา วิจิกิจฺฉายํ, อ, อิตถิยํ อา.
  32. กงฺขน : นป. ความสงสัย,ความลังเลใจ
  33. กงฺขนา : อิต. ความสงสัย,ความไม่แน่ใจ
  34. กงฺขาธมฺม : ป. สภาวะคือความสงสัยแห่งใจ
  35. กงฺขาวิตรณ : นป. การก้าวล่วงความสงสัย, การข้ามความสงสัยเสียได้
  36. กงฺขาวิตรณวิสุทฺธิ : (อิต.) ความหมดจดอัน ก้าวล่วงซึ่งความสงสัย, ความหมดจดแห่ง ญาณเป็นเครื่องข้ามพ้นความสงสัย.
  37. กฏฐ : ๑. นป. เศษไม้, ฟืน, ความลำบากกาย, ป่าทึบ, หมู่ไม้ ๒. เลว, ไร้ประโยชน์; ๓. กิต. ไถแล้ว
  38. กฏุก : ๑. นป., ป. ความเผ็ดร้อน, รสเปรี้ยว, รสขม, การบูน ๒. ค. แหลมคม, เข้มงวด, น่ากลัว, ขมขื่น, ร้ายแรง
  39. กฏุกญฺจกตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้มี จิตหดหู่โดยความเป็นจิตเผ็ดร้อน.
  40. กฏุกญฺจุกตา : อิต. ความขี้เหนียว, ความตระหนี่, ความเข้มงวด
  41. กฏุกตฺต : นป. ความแหลมคม, ความเผ็ดร้อน, ความขมขื่น
  42. กฏุกภาว : ป. ความขี้เหนียว
  43. กฏุกวาจา : (อิต.) คำรุนแรง, ฯลฯ, คำเผ็ด ร้อน.
  44. กฏุมิกา : อิต. ความไม่จริง, ความไม่แท้
  45. กณฺฏก : (ปุ.) ข้าศึก, หนาม, เงี่ยง, ความชูชัน แห่งขน, ขนชูชัน, อวัยวะแห่งต้นไม้?
  46. กณฺฑุ กณฺฑุติ กณฺฑู กณฺฑูยา : (อิต.) ความคัน, โรคคัน, ต่อมเล็ก ๆ, ฝี, ลำลาบเพลิง หิด, หิดด้าน, หิดเปลื่อย. กณฺฑฺ เภทเน, อุ. ศัพท์ที่ ๒ ลง อ ปัจ. ประจำธาตุ แล้วเอา อ ที่ ฑ เป็น อุ ติ ปัจ. ศัพท์ที่ ๓ ลง อุ ปัจ. แล้วทีฆะ ศัพท์ที่ ๔ ลง อ ปัจ. ประจำ ธาตุแล้วลง ณฺย ปัจ. เอา อ ที่ ฑ เป็น อู. ส. กณฺฑุ กณฺฑู กณฺฑูยา.
  47. กณฺฑุ (ฑู) วน : นป. การข่วน, การเกา, ความรู้สึกคัน
  48. กณฺฑุวน กณฺฑูวน : (นปุ.) ความคัน, โรคคัน, โรคกลาก. กณฺฑฺ เภทเน, ยุ, อสฺสุวาเทโส (แปลง อ เป็น อุว) ศัพท์หลังทีฆะ.
  49. กณฺณสูล : นป. ความเจ็บปวดหู, สิ่งที่ไม่ไพเราะหู
  50. กตกิพฺพิส : ค. ผู้มีโทษ, ผู้มีความผิด
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3709

(0.2104 sec)