Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ความรู้สึกนึกคิด, รู้สึก, นึกคิด, ความ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ความรู้สึกนึกคิด, 3699 found, display 1-50
  1. กณฺฑุ (ฑู) วน : นป. การข่วน, การเกา, ความรู้สึกคัน
  2. กายประสาท, - ยปฺปสาท : ป. กายประสาท, ความรู้สึกทางกาย
  3. กายวิญฺญาณ : นป. ความรู้สึกในกายสัมผัส, ความรู้แจ้งอารมณ์ด้วยกายคืออาการที่รู้ว่าสัมผัส
  4. กายสมฺผสฺส : ป. การสัมผัสด้วยกาย, ความรู้สึกทางสัมผัส
  5. กายายตน : นป. สิ่งที่เป็นสื่อรับความรู้สึกจากภายนอกมาสู่กาย, สื่อทางกาย
  6. กุกฺกุจฺจ : (นปุ.) ความรำคาญ, ความเดือดร้อน, ความสงสัย, ความรังเกียจ (ความรู้สึกสะ อิดสะเอียนในการทำความชั่ว). วิ. กุจฺฉิตํ กโรตีติ กุกฺกตํ. จิตฺตํ; ตํสมงฺคี วา, ตสฺส ภาโว วา กุกฺกุจฺจํ. กุจฺฉิตํ กุตํ กุกฺกุตํ. ตสฺส ภาโว กุกฺกุจฺจํ. กุกฺกุจฺจก
  7. ฆานปสาท : (ปุ.) ประสาทของจมูก, ฆาน- ประสาท (เส้นใยสำหรับรับความรู้สึก ทางจมูก).
  8. จกฺขุปสาท : (ปุ.) ประสาทของตา, จักษุประสาท คือเส้นสำหรับนำความรู้สึกของตา ส่วน สำคัญของตาที่ทำให้มองเห็น.
  9. จินฺตน : นป. จินฺตนา อิต. การคิด, การดำริ, ความนึกคิด, ความดำริ
  10. ชิวฺหาวิญฺญาณ : นป. ความรู้สึกทางลิ้น, ความรับรู้รส
  11. ตกฺกคหน : นป. ชัฏคือความตรึก, ความนึกคิดยุ่งเหยิง
  12. ทุกฺขเวทนา : (อิต.) ความเสวยอารมณ์อันเป็น ทุกข์, ความรู้สึกลำบาก, ไทยใช้ทุกขเวทนาในความว่ารู้สึกลำบาก รู้สึกเจ็บปวด.
  13. นข : (ปุ. นปุ.) เล็บ(ทั้งเล็บมือเล็บเท้า),เดือยไก่,วิ.นตฺถิขํอินฺทฺริยํเอตฺถาตินโข(ไม่มีความรู้สึก).ส.นข.
  14. นิจฺจิตฺตก : ค. ผู้ไม่มีความนึกคิด, ผู้ปราศจากจิตคิดถึง, ผู้ไม่ทันคิด
  15. นิจฺฉย : (ปุ.) ความหนักแน่น, ความรู้สึกหนักแน่น, ความตัดโดยไม่เหลือ, ความประสงค์อันบุคคลตัดโดยไม่เหลือ, ความแน่ใจ, ความแน่นอน, การชี้ขาด, การตัดสิน. นิปุพฺโพ, จยฺ คมเน, อ, ยุ. แปลง จ เป็น จฺฉ ฉิทิ เทฺวธากรเณ วา. แปลง อิ เป็น อ แปลง ท เป็น ย ซ้อน จฺ อีกอย่างหนึ่ง ตั้งนิบทหน้า ฉิ ธาตุใน ความตัดแปลง อิ เป็น เอ แปลง เอ เป็น อย ซ้อน จฺ หรือ จิ ธาตุในความสะสม แปลง อิ แล้วแปลง จ เป็น จฺฉ. ส. นิรฺณย.
  16. นิจฺฉยน : (นปุ.) ความหนักแน่น, ความรู้สึกหนักแน่น, ความตัดโดยไม่เหลือ, ความประสงค์อันบุคคลตัดโดยไม่เหลือ, ความแน่ใจ, ความแน่นอน, การชี้ขาด, การตัดสิน. นิปุพฺโพ, จยฺ คมเน, อ, ยุ. แปลง จ เป็น จฺฉ ฉิทิ เทฺวธากรเณ วา. แปลง อิ เป็น อ แปลง ท เป็น ย ซ้อน จฺ อีกอย่างหนึ่ง ตั้งนิบทหน้า ฉิ ธาตุใน ความตัดแปลง อิ เป็น เอ แปลง เอ เป็น อย ซ้อน จฺ หรือ จิ ธาตุในความสะสม แปลง อิ แล้วแปลง จ เป็น จฺฉ. ส. นิรฺณย.
  17. ปวิตกฺก : ป. ความตรึก, ความนึกคิด
  18. ปิหน : นป. ความริษยา, ความไม่อยากให้ผู้อื่นได้ดี, ความรู้สึกไม่สบายใจในความสำเร็จของผู้อื่น; ปรารถนาที่จเป็นเช่นนั้นบ้าง
  19. ปีติรส : นป. รสแห่งปีติ, ความรู้สึกเอิบอาบใจ
  20. มโนธมฺม : (ปุ.) ธรรมของใจ, ธรรมสำหรับใจ, ใจมีธรรม คือมีความรู้สึกผิดชอบชั่วดี รู้ว่าอะไรควรทำอะไรไม่ควรทำ.
  21. มุจฺฉา : (อิต.) ความวิงเวียน, ความสยบ (ฟุบลง) , ความสลบ (แน่นิ่ง หมดความรู้สึก), การวิงเวียน, การเป็นลม. มุจฺฉฺ โมหสมุสฺสเยสุ, อ, อิตฺถิยํ อา.
  22. มุติ : (อิต.) ความรู้, ความรู้สึก, ความเข้าใจ, ปรีชา, ปัญญา. มุนฺ ญาเณ, ติ. นฺโลโป.
  23. วิญฺญาณ : นป. ความรู้แจ้ง, ความรู้สึกตัว
  24. วิสญฺญี : ค. หมดความรู้สึก, สิ้นสติ
  25. เวทนา : อิต. ความรู้สึก, ความเจ็บปวด
  26. สญฺชานน : นป. การรู้จัก, ความรู้สึก
  27. สญฺญี : ๑. อิต. ความรู้สึก, ๒. ค. มีความรู้สึก
  28. สมฺปชญฺญ : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้รู้ทั่วพร้อม, ความเป็นแห่งบุคคลผู้รู้รอบคอบ, ความเป็นแห่งบุคคลผู้รู้ตัวอยู่เสมอ. วิ. สมฺปชนสฺส ภาโว สมฺปชญฺญํ ณฺย ปัจ.ภาวตัท. ความรู้ทั่วพร้อม, ความรู้รอบคอบ, ความรอบคอบ, ความรู้สึกตัว, ความรู้ตัว, ความรู้ตัวอยู่เสมอ. ณฺย ปัจ. สกัด.
  29. อธิโมกฺข : (ปุ.) ความรู้สึกหนักแน่น, ความรู้สึกตระหนักแน่น, ความหนักแน่น, ความแน่ใจ, ความน้อมลง, ความน้อมใจเชื่อ, ศรัทธา.วิ.อธิมุจฺจนํอธิโมกฺโขอถ วา, อธิมุจฺจนํ อารมฺมณนิจฺฉนํ อธิโมกโข.อธิ-ปุพฺโพ, มุจฺ โมจนนิจฺฉเยสุ, โข, จสฺสโก, อุสฺโส (แปลง จ เป็น ก แปลง อุ เป็น โอ)ส.อธิโมกฺษ.
  30. อนุภวน : (นปุ.) การเสวย, ความเสวย, ความประสบ, ความรู้สึก.
  31. อสญฺญ, - ญก, - ญี : ค. ไม่มีสัญญา, ไม่มีความจำได้, ไม่มีความรู้สึก
  32. อสญฺญอสญฺญ : (วิ.) ไม่มีสัญญา, ไม่รู้สึกตัว.สิ้นสติ.ไทยใช้ อสัญ อาสัญ เป็นกิริยาในความว่าตาย, อสัญญีในความว่าหมดความรู้สึกสลบ.
  33. อสญฺญี : ค. ไม่มีสัญญา, ไม่มีความจำได้, ไม่มีความรู้สึก
  34. อาภิเจตสิก : ค. ผู้มีความคิดนึกอันแจ่มใส, มีความนึกคิดสูง
  35. อารมฺมณ : (นปุ.) ธรรมชาติเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวของจิต, ธรรมชาติเป็นที่เหนี่ยวของจิต, ธรรมชาตเป็นที่มารื่นรมย์, ธรรมชาตเป็นที่ยินดีของจิต, เครื่องยึดเหนี่ยวของจิต, เครื่องยึดหน่วงแห่งจิต, ความคิด, ความรู้สึก, เหตุ, โคจร, นิสัยใจคอ ?, อารมณ์(ความเป็นไปแห่งจิตในขณะหนึ่งๆธรรมชาติที่เกิดขึ้นให้จิตรู้สึกสิ่งที่จิตรู้).วิ.อาคนฺตวาอาภุโสวาจิตฺตเจตสิกาธมฺมารมนฺติเอตฺถาติอารมฺมณํ.อาปุพฺโพ, รมฺรมเณ, ยุ
  36. อาลุก : ๑. นป. ดู อาลุ๒. ค. มีความรู้สึกเร็ว, มีความปรารถนา
  37. อินฺทิย อินฺทฺริย : (นปุ.) ความเป็นใหญ่, ร่าง กาย, ร่างกายและจิตใจ, กำลัง, กำลังกาย, อำนาจ, ความรู้สึก, สติปัญญา, ประสาท, หน้าที่, อินทรีย์ (ความเป็นใหญ่ในกิจ นั้น ๆ). วิ. อินฺโท อตฺตา, ตสฺส ลิงฺคํ อินฺทิยํ อินฺทริยํ วา. อิย ปัจ. อินฺทติ ปรมิสฺสริยํ กโรตีติ วา อินฺทิริยํ. อิทิ ปรมิสฺสริเย, อิโย. ศัพท์หลังแปลง ท เป็น ทฺร. ส. อินฺทริย.
  38. ปฏิสเวเทติ : ก. ทราบชัด, รู้สึก, เสวย (เวทนา), ได้รับ (สุขหรือทุกข์)
  39. อนุภวติ : ก. กิน, เสวย, รู้สึก
  40. นินฺนาท : (ปุ.) การกึกก้อง,การบันลือ,ความ กึกก้อง, ความบันลือ, ความเกรียวกราว, เสียงกึกก้อง, เสียงบันลือ, เสียงสะท้าน, เสียงเกรียวกราว, นินาท, นฤนาท. วิ. ปุนปฺนปุนํ นาโท นินฺนาโท แปลง น เป็น นฺน แปลง อ ที่น ตัวต้นเป็น อิ ลงนิคคหิต อาคม แล้วแปลงเป็น นฺ.
  41. มิจฺฉาวิตกฺก : (ปุ.) ความดำริผิด, ความตรึกผิด, ความ คิดผิดจากคำสอนของศาสนา.
  42. เมตตา : (อิต.) ความรัก, ความรักกัน, ความเยื่อใย, ความปรารถนาดีต่อกัน, ความ หวังดีต่อกัน. มิทฺ สิเนเห, โต. แปลง อิ เป็น เอ ทฺ เป็น ตฺ มิตฺเต ภวา วา เมตฺตา. ณ ปัจ.
  43. ยุตฺติธมฺม : (ปุ.) ธรรมคือความถูกต้อง, ความเที่ยงธรรม, ความชอบธรรม, ความ ชอบด้วยเหตุผล.
  44. อฏฺฏ : (ปุ.) ความบีบคั้น, ความเบียดเบียน, ความวิบัติ, อันตราย, ความลำบาก, ความ(เรื่อง เนื้อเรื่อง อาการ คดีที่ฟ้องร้องกันในโรงศาล), คดี, คดีความ, อรรถคดี, ร้าน, ป้อม, หหอรบ, แม่แคร่, ยุติ.อฏฺฏฺอติกฺกมหึสาสุ, อ. ส. อฎฺฎ.
  45. : (ปุ.) พรหม อุ. กโมฬิ, กาย อุ. กํ อตฺตานํ, ลม อุ. กํ วาตํ, ชาย (คน) อุ. กํ ปุริสํ, นกยูง อุ. โก มยูโร, ความรุ่งเรือง อุ. โก โชติ.
  46. กกฺกรตา : อิต. ความกระด้าง, ความหยาบคาย, ความขรุขระ
  47. กกฺกริย : นป. ความหยาบคาย, ความกระด้าง
  48. กกฺกสฺส : ป. ความหยาบคาย, ความกระด้าง
  49. กกฺกาเรติ : ก. ทำเสียงกักๆ , แสดงความสะอิดเอียน
  50. กกฺขฬตฺต : นป. ความหยาบ, ความกระด้าง
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3699

(0.1230 sec)