Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: คัมภีร์ไบเบิล, คัมภีร์, ไบเบิล , then คมภร, คมภรบบล, คมฺภีร, คัมภีร์, คัมภีร์ไบเบิล, ไบเบิล .

ETipitaka Pali-Thai Dict : คัมภีร์ไบเบิล, 62 found, display 1-50
  1. คมฺภีร : (ปุ.) คัมภีระ ชื่อเสียงดนตรีอย่างที่ ๗ ใน ๘ อย่าง เป็นเสียงลึกสุขุม. ปญฺจนฺนํ ฐานคตีนํ ทูรฏฺฐานโต ชาตตฺตา คมฺภีโร.
  2. คณฺฐ : (ปุ.) ตำรับ, ตำรา, คัมภีร์, สมุด, หนังสือที่แต่งขึ้น, หนังสือที่ร้อยกรองขึ้น. คนฺถฺ สนฺถมฺเภ, พนฺธเน จ, อ, นฺถสฺส ณฺโฐ.
  3. ปกรณ : นป. การทำทั่ว, โอกาส, ตำรา, คัมภีร์
  4. ปาฐ : ป. เรื่องราว; วิธีสาธยายคัมภีร์, การอ่านคัมภีร์; คัมภีร์, บาลี
  5. โปตฺถ โปตฺถก : (ปุ. นปุ.) สมุด, หนังสือ, คัมภีร์, ตำรับ (ตำราที่กำหนดไว้เฉพาะแต่ละเรื่องละราย), ตำรา.
  6. คภีร คมฺภีร : (วิ.) ลึก, ซึ้ง, ลึกซึ้ง, สุขุม. คมฺ คติยํ, อีโร. มฺโลโป, โภ สมฺโพเธ. ศัพท์ หลังคง มฺ ไว้. คจฺฉนฺตา ภายนฺติ อสฺมินฺติ คภีโร. โค วุจฺจติ ปฐวี, ตํ ภินฺทิตฺวา คจฺฉติ ปวตฺตตีติ วา. คมฺภีโร. ค ภิทิ ปุพฺโพ, อรฺ คมเน, อ, นิคฺคหิตาคโม. แปลงนิคคหิต เป็น มฺ ลบ ทิ ทีฆะ อิ เป็น อี ใน วิ. ใช้ คมฺธาตุแทน. ส. คภฺภีร.
  7. มหาวคฺค : (ปุ.) มหาวรรค ชื่อคัมภีร์พระวินัยปิฏก คัมภีร์ ๑ ใน ๕ คัมภีร์.
  8. กถาวตฺถุ : นป. เรื่องที่นำมาสนทนา, ชื่อของคัมภีร์เล่มที่ห้า ของอภิธรรมเจ็ดคัมภีร์
  9. ขุทฺทกนิกาย : ป. ขุททกนิกาย, ชื่อคัมภีร์หมวดที่ห้าแห่งสุตตันตปิฎก
  10. ขุทฺทกปาฐ : ป. ชื่อคัมภีร์เล่มแรกแห่งขุททกนิกาย
  11. คนฺถการ : ป. ผู้แต่งหนังสือ, ผู้ร้อยกรอง, ผู้รจนาพระคัมภีร์
  12. คนฺถธุร : (นปุ.) กิจในคัมภีร์, การเล่าเรียน ความรู้ซึ่งจารึกไว้ในคัมภีร์, การศึกษาคำ สั่งสอนซึ่งจารึกไว้ในคัมภีร์, คันถธุระ ชื่อ ธุระอย่าง ๑ ใน ๒ อย่าง ของพระพุทธ ศาสนา. การเล่าเรียนพระปริยัติธรรมคือ คำสั่งสอน แล้วทรงจำไว้กล่าวสอนไม่ให้ ผิดไปจากหลักตัดสินพระธรรมวินัย ชื่อว่า คันถธุระ. เป็นหน้าที่ของพุทธศาสนิกชน โดยเฉพาะพระภิกษุและสามเณร. ธุระ อีกอย่างหนึ่งคือ วิปัสสนาธุระ.
  13. คนฺถรจนาจริย : (ปุ.) อาจารย์ผู้แต่งคัมภีร์, พระคันถรจนาจารย์.
  14. คนฺถโสธน : (นปุ.) การชำระคัมภีร์, การชำระ หนังสือ.
  15. โค : (ปุ.) โคผู้ วิ. คจฺฉตีติ โค. คมฺ คติยํ, โร. รปัจ. มี อำนาจให้ลบที่สุดธาตุแล้วลบตัวเอง. โค แปลว่าวัว ไม่นิยมตัวผู้หรือตัวเมีย มีแบบ แจกวิภัติโดยเฉพาะ ดูวจีวิภาค ภาคที่ ๒ เลขที่ ๗๑. บางคัมภีร์ แปลว่า แม่โคก็มี แต่ส่วนมากใช้เป็นคำกลาง หมายเอาทั้ง โคผู้และโคเมีย ถ้าหมายเอาโคผู้โดยเฉพาะ ใช้ศัพท์โคณ เมื่อหมายเอาตัวเมียใช้ศัพท์ คาวี. โคศัพท์ ยังแปลได้อีก คือ แปลว่า น้ำ อุ. โคสีตจนฺทน, สวรรค์ อุ. ธมฺโม- ปจิเตน คาวํ ปยติ. คนย่อมไปสวรรค์ด้วย ธรรมที่สั่งสมไว้แล้ว. แสงสว่าง รัศมี อุ. คาโว วิคฺคจฺฉนฺติ เทหโต. รัศมีท. ย่อมซ่านออกจากกาย, เพชร อุ. คาเวน ปริชฺเฌยฺย มณิโก. ช่างแก้วเจียระไนด้วย เพชร, ลูกศร อุ. ควํ ฉินฺทนฺติ ตจฺฉกา. ช่างถากท. ย่อมตัดลูกศร, ดวงจันทร์ อุ. คาวํ โอโลเกสิ จกฺขุนา. คนมองดวงจันทร์ ด้วยจักษุ, ตา อุ. คาเวน จนฺทํ อิกฺขติ. คนมองดวงจันทร์ด้วยตา, คำพูด ถ้อยคำ อุ. คาวํ ภาสนฺติ เต ชนา. ชน.ท. เหล่านั้น พากันพูดถ้อยคำ, พื้นดิน อุ. คาเว ฐิโต โอนมิ สาขํ. คนยืนที่พื้นดินโน้มกิ่งไม้, อินทรีย์ อุ. โคจรํ ที่เป็นที่เที่ยวไปแห่ง อินทรีย์, พระอาทิตย์ อุ. โค สุริโย.
  16. จริยาปิฏก : นป. คัมภีร์จริยาปิฎก, ชื่อของคัมภีร์สุดท้ายในขุททกนิกาย
  17. จิหณ จิหน : (นปุ.) ลักษณะ, เครื่องหมาย, เบ้า, ร้อย, ตรา, แกงได (รอยกากบาท หรือรอย ขีดเขียน ซึ่งคนไม่รู้หนังสือเขียนไว้เป็น สำคัญ). จิหฺ ลกฺขเณ, ยุ. คัมภีร์สีหฬ เป็น จิณฺห.
  18. ฉทฺทนฺต : (ปุ.) ฉัททันต์ ชื่อตระกูลช้างตระกูล ที่ ๑๐ ใน ๑๐ ตระกูล มีกายบริสุทธิ์ดังเงิน ยวง ปากและเท้าสีแดง. คัมภีร์ทางพม่า และฎีกาอภิฯ เป็น นปุ.
  19. ฏีกา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องกำหนด, ฎีกา ชื่อ ของหนังสือที่อาจารย์แต่งแก้อรรถกถา บางทีแก้ทั้งบาลีด้วยจัดเป็นคัมภีร์ชั้นที่ สาม ชื่อของหนังสือที่เขียนนิมนต์พระสงฆ์ ชื่อของคำร้องทุกข์ที่ถวายพระเจ้า แผ่นดิน ชื่อของคำคัดค้านที่ยื่นต่อศาล สูงสุด ชื่อของศาลสำหรับตัดสินความชั้น สูงสุด. ฏิกฺ คติยํ, อ, อิตฺถิยํ อา.
  20. เถรคาถา : อิต. เถรคาถา, คาถาของพระเถระชื่อคัมภีร์หมวดหนึ่งในขุททกนิกาย
  21. เถรีคาถา : อิต. เถรีคาถา, คาถาของพระเถรี, ชื่อคัมภีร์หมวดหนึ่งในขุททกนิกาย เถว ป. หยดน้ำ, หยาดน้ำ
  22. ทสชาติ : (อิต.) ชาติสิบ, ทศชาติ ชื่อคัมภีร์ ชาดก กล่าวด้วยเรื่องพระพุทธเจ้าครั้งยัง เป็นพระโพธิสัตว์ ตอนก่อนตรัสรู้ มี ๑๐ ชาติ
  23. ทีฆนิกาย : (ปุ.) ทีฆนิกายชื่อคัมภีร์ เป็น คัมภีร์ต้นของพระสุตตันตปิฎก.
  24. ทีปนี : ค., อิต. ซึ่งส่อง, ซึ่งแสดง, ซึ่งชี้แจง, ซึ่งอธิบาย; คัมภีร์อธิบายความ
  25. ทีปิกา : (อิต.) คบเพลิง, ตะเกียง, ทีปิกา ชื่อ คัมภีร์หนังสือ. ทิปฺ ทิตฺติยํ, อิโก, ทีโฆ. ฎีกาอภิฯ เป็น ทีปฺ ธาตุ.
  26. ทุกนิปาต : (ปุ.) ทุกนิบาต ชื่อคัมภีร์ในไตร.
  27. ธมฺมสงฺคาหก : ค. ผู้ร้อยกรองหรือแต่งพระคัมภีร์
  28. ธาตุกถา : อิต. ธาตุกถา, อธิบายเกี่ยวกับเรื่องธาตุ, ชื่อคัมภีร์อภิธรรมเล่มที่สาม
  29. นิกาย : (ปุ.) ที่อยู่, เรือน. วิ. นิจิยฺยเตฉาทิยเตตี นิกาโย. นิปุพโพ, จิ จเย, โย. แปลง จิ เป็น กาในเพราะยปัจ. ฝูง, หมู่, พวก, ประชุม, กอง, คณะ, สภา, บริษัท, นิกาย ชื่อหมวด คัมภีร์ในพระสุตตันตปิฎก มี ๕ นิกาย คือ ๑. ทีฆนิกาย ๒. มัชฌิมนิกาย ๓. สังยุตตนิกาย ๔. อังคุตตรนิกาย และ ๕. ขุททกนิกาย ชื่อหมู่ชนผู้มีธรรมร่วม กันประพฤติธรรมร่วมกัน เช่น มหานิกาย. วิ. นิพฺพิเสเสน จิโนติ อวยเวติ นิกาโย. กุลํ สธมฺมีนํ สมานธมฺมานเมว ชนฺตูนํ คโณ นิกาโย นาม. ส. นิกาย.
  30. นิปาต : (ปุ.) การตกไปโดยไม่เหลือ, การตก ไปในระหว่าง, การไม่เปลี่ยนแปลง, การประชุม, ความตก, ความตกไป, ความไม่เปลี่ยนแปลง, นิบาต คือคำเรียก อัพยย- ศัพท์มี ป เป็นต้น อีกอย่างหนึ่งเรียก คัมภีร์ในพระพุทธศาสนา. นิปุพฺโพ, ปตฺ ปตเน, โณ. อภิฯ ลง อ ปัจ. ส. นิปาต.
  31. ปฏฺฐาน : นป. การเริ่มตั้งไว้, การตั้ง, การเริ่มต้น; จุดตั้งต้น, แหล่ง, เหตุ; ชื่อคัมภีร์ที่ ๗ แห่งอภิธรรมปิฎก
  32. ปทภาณ : ป. การกล่าวบท, การขานด้วยบท, การสวดบทคำสอนในพระคัมภีร์
  33. ปทภาณก : ค. ผู้กล่าวหรือสวดบทคำสอนในพระคัมภีร์
  34. ปรมตฺถโชติกา : อิต. ชื่อคัมภีร์อรรถกถาแห่งขุททกปาฐะ และสุตตนิบาต
  35. ปาฏิโมกฺข : ป., นป. พระปาฏิโมกข์, ธรรมเป็นที่อาศัยให้พ้นจากอาบัติ; พระคัมภีร์รวบรวมพระวินัยที่เป็นหลักของภิกษุไว้และต้องสวดในที่ชุมนุมสงฆ์ทุกกึ่งเดือนเพื่อทบทวนข้อปฏิบัติและสำรวจตนเองว่าได้ปฏิบัติตนเองตามพุทธบัญญัติหรือไม่
  36. ปาฐก : ค. ผู้แสดง, ผู้อ่าน, ผู้รู้, ผู้สาธยายคัมภีร์, ผู้ชำนาญ
  37. ปาลิ, ปาฬิ : อิต. แถว, แนว, สะพาน; ระเบียบ, แบบแผน; คัมภีร์ชั้นพุทธพจน์, ภาษาที่ใช้เขียนพระพุทธพจน์
  38. ปุคฺคลปญฺญตฺติ : อิต. คัมภีร์บุคคลบัญญัติในพระอภิธรรม ว่าด้วยการจัดประเภทบุคคล
  39. โปฏฺฐกคณฺฐ : (ปุ.) คัมภีร์พระธรรม.
  40. พฺราหฺมณวาจนก : นป. การบอกคัมภีร์พระเวทโดยพราหมณ์, หอสวดมนต์ของพราหมณ์
  41. มชฺฌิมนิกาย : (ปุ.) มัชฌิมนิกาย ชื่อคัมภีร์ที่ ๒ แห่งสุตตันตปิฎก.
  42. มหาขนฺธก : (ปุ.) มหาขันธกะ (หมวดใหญ่) ชื่อหมวดในคัมภีร์พระวินัยปิฏก หมวด ๑
  43. มหาทีป : (ปุ.) ทวีปใหญ่, มหาทวีป. ในคัมภีร์ไตรภูมิ มี ๔ คือ ปุพฺพวิเทห อมรโคยาน ชมฺพูทีป อุตฺตรกุรุ.
  44. ยชุ : (นปุ.) ยชุ คือคัมภีร์ไตรเพทของพราหมณ์ คัมภีร์ที่ ๒ วิ. ยชนฺเต อเนเนติ ยชฺ. ยชฺ เทวปูชายํ, อุ.
  45. ยชุพเพท ยชุเวท : (ปุ.) ยชุพเพท ยชุรเวท ชื่อคัมภีร์ไตรเพทของพราหมณ์ คัมภีร์ที่ ๒.
  46. โหราสตฺถ : (นปุ.) ตำราวิชาโหร, คัมภีร์วิชาโหร, โหราศาสตร์ (ตำราว่าด้วยการพยากรณ์โดยอาศัยดาราศาสตร์เป็นหลัก).
  47. อชฺฌาปน : (นปุ.) การสอนคัมภีร์.
  48. อตฺต อตฺร : (ปุ.) กาย, ร่างกาย, ตน, ตู(ตัว), ตัว, ตัวเอง, ตัวตน (ร่างกายและใจ). วิ. ทุกฺขํ อตติสตตํ คจฺฉตีติ อตฺตา (ถึงทุกข์เสมอ).อาหิโตอหํมาโน เอตฺถาติวา อตฺตา (เป็นที่ตั้งของมานะ).สุขทุกฺขํ อทติ ภกฺขติ อนุภาวตีติวาอตฺตา(เสวยสุขทุกข์).ชาติชรามรณาทีหิอาทียเต ภกฺขียเตติวา อตฺตา (อันชาติชราและมรณะเป็นต้น เคี้ยวกิน).ภววภวํธาวนฺโตชาติชรามรณาทิเภทํ อเนกวิหิตํสํสารทุกขํอตติสตตํคจฺฉติปาปุณาติอธิคจฺฉตีติวาอตฺตา.อตฺหรืออทฺธาตุตปัจ.ถ้าตั้งอทฺ ธาตุ แปลงทเป็น ต หรือ แปลง ต เป็น ตฺต ลบ ทฺศัพท์หลัง แปลง ต เป็น ตฺรลบที่สุดธาตุอตฺตศัพท์นี้ตามหลักบาลีไวยากรณ์เป็นเอก.อย่างเดียว ถ้าจะใช้เป็นพหุ. ต้องแปลซั้าสองหน หรือเขียนควบสองหนเช่น อตฺตโนอตฺตโนแต่คัมภีร์รูปสิทธิเป็นต้น แจกเป็นพหุ. ได้.แปลว่า จิตใจ สภาวะ และ กุสลธัมได้อีกอุ. อตฺตา หิกิรทุทฺทโมได้ยินว่าจิตแล(ใจแล) เป็นสภาพรักษาได้ยาก.แปลว่า หัวใจ อุ.ตถตฺตมีหัวใจเป็นอย่างนั้นมีพระทัยเป็นอย่างนั้น. แปลว่าปรมัตตะ หรือปรมาตมันตามที่ชาวอินเดียโบราณถือว่าเป็นสิ่งไม่ตาย รูปฯ๖๓๖ ลง มนฺ ปัจ. ลบ น.แปลง ม เป็น ต สูตรที่ ๖๕๖ ลง ต ตฺรณฺ ปัจ.ที่ลง ตฺรณฺปัจ.ลบที่สุดธาตุ แล้วลบณฺสฺอาตฺมนฺอาตฺมา.
  49. อตฺถกถา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องอัน.....กล่าวซึ่งเนื้อความ, วาจาเป็นเครื่องกล่าวซึ่งเนื้อความคำอธิบายซึ่งเนื้อความ, ถ้อยคำแก้อรรถ, อรรถกถาชื่อคัมภีร์ที่ท่านแต่งแก้เนื้อความแห่งพระบาลีพุทธพจน์ที่เข้าใจยากให้ง่ายขึ้น
  50. อปูป : (ปุ.) แป้ง, ขนม. วิ.อการยุตฺโตปูโปอปูโป.ปูปศัพท์ลงออักษรข้างหน้าบางคัมภีร์ว่าลงอาอักษรแล้วรัสสะส.อปูปอปูปฺยอาปูปฺย.
  51. [1-50] | 51-62

(0.0663 sec)