Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: คำ .

Eng-Thai Lexitron Dict : คำ, more than 7 found, display 1-7
  1. vocable : (N) ; คำ ; Related:ศัพท์, ชื่อ, คำรวมเสียง
  2. word : (N) ; คำ
  3. derive from : (PHRV) ; (คำ) ผันมาจาก ; Related:มีรากคำมาจาก
  4. Gallicism : (N) ; คำ วลี สำนวนในภาษาฝรั่งเศสที่รับมาจากภาษาอื่น
  5. mantra : (N) ; คำ วลีหรือเสียงที่ได้ยินซ้ำแล้วซ้ำอีก (เช่นระหว่างนั่งสมาธิ) ; Syn:incanation
  6. palindrome : (N) ; คำ วลี ประโยค ข้อความที่อ่านได้เหมือนกันทั้งจากหน้า/หลัง ; Syn:wordplay, witticism
  7. coin : (VT) ; สร้าง (คำ) ; Related:คิด, ประดิษฐ์ ; Syn:mint, neologise, neologize, invent, fabricate
  8. Eng-Thai Lexitron Dict : คำ, more results...

Thai-Eng Lexitron Dict : คำ, more than 7 found, display 1-7
  1. คำ : (N) ; word ; Related:speech, vocable ; Syn:เสียงพูด ; Def:เสียงพูดหรือลายลักษณ์อักษรที่เขียนหรือพิมพ์ขึ้นเพื่อแสดงความคิด โดยปกติถือว่าเป็นหน่วยที่เล็กที่สุดซึ่งมีความหมายในตัว ; Samp:เสียงของแต่ละคนนั้นพูดแต่ละครั้งจะไม่เหมือนกัน แม้จะพูดคำเดียวกันหรือประโยคเดียวกันก็ตาม
  2. คำปรามาส : (N) ; contempt ; Related:disdain, scorn, derision ; Syn:คำดูแคลน, คำดูถูก, คำดูถูกดูแคลน ; Ant:คำยกย่องชมเชย ; Samp:คำปรามาสของเขาทำให้ผมมีใจฮึดสู้ขึ้นมาอีกครั้ง ; Unit:คำ
  3. คำหยาบ : (N) ; vulgar language ; Syn:คำหยาบคาย ; Def:คำพูดที่ไม่สุภาพ ; Samp:แม่ตำหนิลูกชายที่พูดคำหยาบต่อหน้าผู้ใหญ่ ; Unit:คำ
  4. คำประสม : (N) ; compound word ; Ant:คำเดี่ยว, คำมูล ; Def:คำที่เกิดจากการนำคำมูลตั้งแต่ 2 คำขึ้นไปมาประสมกันแล้วกลายเป็นคำใหม่ขึ้นมาอีกคำหนึ่ง ; Samp:คำบาลีกับคำไทยประสมกันให้อ่านอย่างคำประสมคือไม่มีเสียงอะระหว่างพยางค์ ; Unit:คำ
  5. คำจำกัดความ : (N) ; definition ; Related:explanation, meaning, exposition ; Syn:คำนิยาม, คำอธิบายศัพท์, ความหมาย ; Def:ข้อความอธิบายความหมายอย่างเป็นทางการของคำหรือวลี ; Samp:มนุษย์สามารถทำตัวเองให้อยู่เหนือคำจำกัดความต่างๆ เกี่ยวกับตัวเองได้เพราะมนุษย์เกิดมาจากความว่างเปล่า ; Unit:คำ
  6. คำกล่าว : (N) ; saying ; Related:hearsay, speaking, speech, remarks, words, utterance ; Syn:คำพูด, คำบอกเล่า ; Samp:ปัญหาของเด็กในวัยรุ่นยังพอมีทางปรับปรุงแก้ไขได้เข้าทำนองคำกล่าวที่ว่า ไม้อ่อนดัดง่าย ไม้แก่ดัดยาก นี่เอง ; Unit:คำ
  7. คำชี้แจง : (N) ; explanation ; Related:elucidation, exposition, reason, explication, clarification, commentary ; Syn:คำอธิบาย ; Samp:อาจารย์ต้องการคำชี้แจงจากนักเรียนเกี่ยวกับเรื่องการประท้วง ; Unit:คำ
  8. Thai-Eng Lexitron Dict : คำ, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : คำ, more than 5 found, display 1-5
  1. คำ : น. เสียงพูด, เสียงที่เปล่งออกมาครั้งหนึ่ง ๆ, เสียงพูดหรือลายลักษณ์อักษร ที่เขียนหรือพิมพ์ขึ้นเพื่อแสดงความคิด โดยปรกติถือว่าเป็นหน่วยที่เล็ก ที่สุดซึ่งมีความหมายในตัว, ใช้ประกอบหน้าคําอื่นมีความหมายเช่นนั้น เช่น คํานาม คํากริยา คําบุรพบท; พยางค์ซึ่งเป็นส่วนย่อยของวรรคหรือ บาทในฉันท์ แต่ละพยางค์ถือว่าเป็นคำหนึ่ง, ๒ วรรคของคำกลอน; ลักษณนามของเสียงพูด เช่น พูดคําหนึ่ง, ลักษณนามบอกจําพวกของเคี้ยว ของกิน เช่น ข้าวคําหนึ่ง, ลักษณนามเรียก ๒ วรรคของคํากลอนว่า คําหนึ่ง.
  2. คำ : น. ทองคํา เช่น หอคำ เชียงคำ.
  3. คำกร่อน : (ไว) น. คำที่ลดเสียงสระและเสียงสะกด (ถ้ามี) ให้เป็นเสียง อะ โดยยังคงเสียงพยัญชนะต้นเสียงเดี่ยวหรือเสียงพยัญชนะต้นที่เป็น อักษรควบอักษรกล้ำไว้ มักจะเกิดในคำสองพยางค์ที่พยางค์แรกออก เสียงเบา เช่น หมากม่วง เป็น มะม่วง ต้นเคียน เป็น ตะเคียน อันหนึ่ง เป็น อนึ่ง แจ้นแจ้น เป็น จะแจ้น ขวักไขว่ เป็น ขวะไขว่ โครมโครม เป็น คระ โครม, และมีปรากฏในคำพยางค์เดียวด้วย เช่น เสีย เป็น ซะ แล้ว เป็น ละ, แต่บางกรณีก็ลดเสียงสระและเสียงสะกด (ถ้ามี) ให้เป็น เสียง เออะ หรือ อึ เช่น เถิด เป็น เถอะ หรือ เป็น รึ.
  4. คำขึ้นต้น : น. คำใช้เขียนขึ้นต้นจดหมายถึงผู้รับตามฐานะของผู้รับ แต่ละคน เช่น นมัสการ ใช้เป็นคำขึ้นต้นจดหมายถึงพระภิกษุ เรียน ใช้เป็นคำขึ้นต้นจดหมายถึงบุคคลธรรมดา; คำใช้ขึ้นต้นสำหรับ ร้อยกรองบางประเภท เช่น บัดนั้น เมื่อนั้น ครานั้น สักวา.
  5. คำเทียบ : น. แบบสอนอ่านที่แจกตามรูปตามมาตรา ก กา กง กน ฯลฯ เช่น ก กา กิ กี ฯลฯ ป็นคำเทียบของแม่ ก กา กง กัง กาง กิง ฯลฯ เป็น คำเทียบของแม่ กง.
  6. Royal Institute Thai-Thai Dict : คำ, more results...

Budhism Thai-Thai Dict : คำ, more than 5 found, display 1-5
  1. คำไวยากรณ์ : คำร้อยแก้ว ตรงข้ามกับคำว่า คาถา คือ คำร้อยกรองแห่งภาษาบาลี
  2. กล่าวคำอื่น : ในประโยคว่า เป็นปาจิตติยะ ในเพราะความเป็นผู้กล่าวคำอื่น ถูกซักอยู่ในท่ามกลางสงฆ์ ไม่ปรารถนาจะให้การตามตรง เอาเรื่องอื่นมาพูดกลบเกลื่อนเสีย
  3. ศัพท์ : เสียง, คำ, คำยากที่ต้องแปล, คำยากที่ต้องอธิบาย
  4. อักขระ : ตัวหนังสือ, วิชาหนังสือ, คำ, เสียง, สระและพยญชนะ
  5. จริยธรรม : “ธรรมคือความประพฤติ”, “ธรรมคือการดำเนินชีวิต”, หลักความประพฤติ, หลักการดำเนินชีวิต; คำ “จริยธรรม” นี้ นักปราชญ์ในประเทศไทยได้บัญญัติให้ใช้สำหรับคำภาษาอังกฤษว่า ethics หมายถึง ธรรมที่เป็นข้อประพฤติปฏิบัติ ศีลธรรม หรือกฎศีลธรรม; จริยะ หรือพรหมจริยะ (พรหมจริยธรรม หรือ พรหมจรรย์) แปลว่า ความประพฤติอันประเสริฐ หมายถึง มรรคมีองค์ ๘ หรือ ศีล สมาธิ ปัญญา เทียบ ศีลธรรม
  6. Budhism Thai-Thai Dict : คำ, more results...

ETipitaka Pali-Thai Dict : คำ, more than 5 found, display 1-5
  1. จกฺก : (นปุ.) วัตถุเป็นเครื่องทำซึ่งการไป วิ. กโรติ คมน มเนนาติ จกฺกํ. กรฺ กรเณ, อ. เทว๎ภาวะ ก แล้วแปลง ก เป็น จ แปลง ก ตัวธาตุเป็น กฺก ลบที่สุดธาตุ. วัตถุอันหมุน ไป, ล้อ, ล้อรถ. จกฺ ปริวตฺตเน, โก. เสนา (พล กองพล), พล, กองพล, กองทัพบก. วิ. กรียเต วิคฺคโห อเนนาติ จกฺกํ. จักรชื่อ เครื่องประหารอย่างหนึ่ง มีรูปกลม มีแฉก โค้งโดยรอบ. วิ. จกฺเกติ พยฺถติ หึสติ เอเตนาติ จกฺกํ. จกฺกฺ พฺยถเน, อ. จักร ชื่อ สิ่งที่มีรูปกลม มีฟันเฟืองโดยรอบ, สมบัติ ,คุณสมบัติความดี,ความเจริญ, เครื่องหมาย , ลักษณะ( ลายจักรที่ฝ่าเท้าของคนมีบุญ ) ,ธรรม (ธรรมจักร), ข้อสั่งสอน, คำสั่งสอน จักร(มณฑลหรือวงรอบ), อุ อาณาจักร, ทาน(ไทยธรรม), กอง, ส่วน, คำ, “จักร” ไทย ใช้เรียกชื่อเครื่องกล เช่น เครื่องจักร รถจักร เป็นต้น. ส. จกฺร.
  2. ชปฺป : (ปุ.) คำพูด, คำ, ถ้อยคำ. ชปฺปฺ วจเน, อ.
  3. ปทก : ๑. ค. ผู้เข้าใจตัวบท, ผู้ชำนาญในบทพระเวท; ๒. นป. รากฐาน, มูลเค้า, หลัก; บท; คำ; ตาหมากรุก
  4. กถา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องกล่าว, วาจาเป็น เครื่องกล่าวแสดง, คำพูด, คำกล่าว , คำ อธิบาย, ข้อประพันธ์, เรื่อง, กถา (สมุด หรือหนังสือที่แต่งขึ้น นิยายที่สำเร็จด้วย การแต่งขึ้น และมีความยืดยาว), ประพันธ กถาศาสตร์. วิ. กเถติ เอตายาติ กถา. กถียตีติ วา กถา. กถยเตติ วา กถา. กถนํ วา กถา. กถฺ กถเน วากฺยพนฺธเน จ, อ, อิตฺถิยํ อา. ส. กถา.
  5. ญตฺติ : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องยังสงฆ์ให้รู้, คำ ประกาศให้สงฆ์ทราบ ( เพื่อทำกิจของ – สงฆ์ร่วมกัน ), การบอกให้รู้, การประกาศ (บอกให้รู้ให้เข้าใจ), ญัตติ (คำเสนอให้พิ- จารณา เพื่อลงมติ). ญา ธาตุ ติ ปัจ. รัสสะ ซ้อน ตฺ หรือแปลง ติ เป็น ตฺติ ไทยใช้ญัตติในความหมายว่า หัวข้อ, หัว ข้อโต้วาที.
  6. ETipitaka Pali-Thai Dict : คำ, more results...

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : คำ, more than 5 found, display 1-5
  1. คำ : กถา, วาจา, วจี, วจนํ
  2. รับ (คำ) : ปฏิสฺสุณาติ, สมฺปฏิจฺฉติ
  3. คำกล่าวตู่ : อพฺภกฺขานํ
  4. คำข้าว : อาโลโป, กพโฬ
  5. คำชม : วากฺยํ
  6. Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : คำ, more results...

(0.2499 sec)