Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: จารึก , then จารก, จารึก .

Eng-Thai Lexitron Dict : จารึก, more than 7 found, display 1-7
  1. inscribe in : (PHRV) ; จารึก (คำพูด) ลงใน ; Related:สลัก (คำพูด) ลงใน, เขียน (คำพูด) ลง ; Syn:inscribe on
  2. inscribe on : (PHRV) ; จารึก (คำพูด) ลงใน ; Related:สลัก (คำพูด) ลงใน, เขียน (คำพูด) ลง ; Syn:inscribe in
  3. engrave with : (PHRV) ; จารึกด้วย
  4. inscribe with : (PHRV) ; จารึกด้วย (คำพูด) ; Related:สลักด้วย (คำพูด), เขียนด้วย (คำพูด)
  5. tablet : (VT) ; จารึกลงบนแผ่น (เช่น แผ่นกระดาษ)
  6. engrave : (VT) ; สลัก ; Related:จารึก, แกะ, แกะสลัก, แกะลวดลาย ; Syn:carve, etch
  7. inscribe : (VT) ; สลัก ; Related:จารึก, เขียนมอบ, ลงชื่อ ; Syn:engrave, imprint
  8. Eng-Thai Lexitron Dict : จารึก, more results...

Thai-Eng Lexitron Dict : จารึก, more than 7 found, display 1-7
  1. จารึก : (N) ; stone inscription ; Syn:ศิลาจารึก ; Samp:จารึกหลักนี้ค้นพบที่จังหวัดสุโขทัย ; Unit:หลัก
  2. จารึก : (V) ; inscribe ; Related:engrave, record, write ; Syn:สลัก, เขียน ; Def:เขียนรอยลึกเป็นตัวอักษรบนแผ่นศิลาหรือโลหะ ; Samp:บนหินปั้น เราจะเห็นตัวอักษร ป จารึกอยู่
  3. จาริก : (N) ; pilgrim ; Related:traveler, wayfarer ; Syn:จารึก ; Def:ผู้ท่องเที่ยวไปหรือสั่งสอนเพื่อแสวงบุญเป็นต้น ; Samp:ทุกวันนี้วิชิตทำตัวเป็นจาริกเที่ยวแสวงบุญไปในที่ต่างๆ ; Unit:คน
  4. ศิลาจารึก : (N) ; stone inscription ; Syn:จารึก, แผ่นจารึก ; Unit:ชิ้น, อัน
  5. การจารึก : (N) ; inscribing ; Related:engraving ; Samp:การจารึกอักษรมีมาตั้งแต่สมัยโบราณ
  6. ศิลาจารึก : (N) ; stone inscription ; Related:stone tablet ; Def:แผ่นหินที่มีการเขียนตัวอักษรเป็นรอยลึก ; Samp:จากศิลาจารึกพ่อขุนรามคำแหงบันทึกไว้ว่าทรงสร้างสวนสมุนไพรขนาดใหญ่ไว้บนเขาหลวง
  7. คำจารึก : (N) ; epigraph ; Related:inscription
  8. Thai-Eng Lexitron Dict : จารึก, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : จารึก, more than 5 found, display 1-5
  1. จาริก, จารึก : น. ผู้ท่องเที่ยวไปเพื่อสั่งสอนหรือแสวงบุญเป็นต้น. ก. ท่องเที่ยวไป เพื่อสั่งสอนหรือแสวงบุญเป็นต้น.
  2. จารึก : ก. เขียนหรือจารให้เป็นรอยลึกเป็นตัวอักษรหรือภาพเป็นต้นบนแผ่นศิลา โลหะหรือดินเป็นต้น, โดยปริยายหมายถึงลักษณะที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น จารึกไว้ในดวงใจ, ในบทกลอนหมายความว่า เขียนโดยทั่ว ๆ ไป ก็มี. น. เรียกศิลาที่จารึกเป็นตัวอักษรหรือภาพเป็นต้นว่า ศิลาจารึก, เรียกสั้น ๆ ว่า จารึก เช่น จารึกอโศก จารึกสุโขทัย.
  3. บัญจรงค์ : [บันจะรง] (แบบ) น. เบญจรงค์ เช่น เอาผ้าบัญจรงค์อันงาม. (จารึก วัดป่ามะม่วง หลักที่ ๕ ด้านที่ ๓).
  4. ป้าย ๑ : น. แผ่นหนังสือหรือแผ่นเครื่องหมายที่บอกให้รู้ เช่น ป้ายชื่อ ห้างร้าน ป้ายจราจร; (กฎ) วัตถุที่แสดงหรือโฆษณาด้วยอักษร ภาพ หรือ เครื่องหมายที่เขียน แกะสลัก จารึก หรือทําให้ปรากฏ ด้วยวิธีอื่น เพื่อแสดงชื่อ ยี่ห้อ หรือเครื่องหมายที่ใช้ในการประกอบ การค้าหรือประกอบกิจการอื่นเพื่อหารายได้ หรือโฆษณาการค้า หรือกิจการอื่นเพื่อหารายได้.
  5. กบาล : [กะบาน] น. ส่วนกลางของกะโหลกศีรษะ, หัว, (คําไม่สุภาพ) เช่น ตีกบาล เขกกบาล; แผ่นกระเบื้อง; ลานกลางหมู่บ้าน เรียกว่า กบาลบ้าน; เครื่องเซ่นผีที่ใส่ภาชนะกับตุ๊กตาแล้ว นําไปทิ้งที่ทางสามแพร่ง และต่อยหัวตุ๊กตาเสีย เรียกว่า เสียกบาล, เรียกภาชนะที่ใส่เครื่องเช่นนั้น เช่น เอาเหล้า ข้าวใส่กบาลออกเซ่นวัก. (ขุนช้างขุนแผน), บางทีใช้ว่า กระบาล เช่น ปรุตรุเคลือบกระบาลหิน. (จารึกวัดโพธิ์). (ป., ส. กปาล ว่า กะโหลกหัว).
  6. Royal Institute Thai-Thai Dict : จารึก, more results...

Budhism Thai-Thai Dict : จารึก, 6 found, display 1-6
  1. จารึก : เขียน, เขียนเป็นตัวอักษร, เขียนรอยลึกเป็นตัวอักษรลงในใบลาน หรือ ลงแผ่นศิลา แผ่นโลหะ
  2. ธรรมเจดีย์ : เจดีย์บรรจุพระธรรมคือ จารึกพระพุทธพจน์ เช่น อริยสัจ ปฏิจจสมุปบาทเป็นต้น ลงในใบลานแล้วนำไปบรรจุในเจดีย์ (ข้อ ๓ ในเจดีย์ ๔)
  3. บาลี : 1.“ภาษาอันรักษาไว้ซึ่งพุทธพจน์”, ภาษาที่ใช้ทรงจำและจารึก รักษาพุทธพจน์แต่เดิมมา อันเป็นหลักในพระพุทธศาสนาฝ่ายเถรวาท ถือกันว่าได้แก่ภาษามคธ 2.คัมภีร์พระพุทธศาสนาต้นเดิมที่เป็นพระพุทธวจนะ อันพระสังคีติกาจารย์รวบรวมได้ คือ คัมภีร์พระไตรปิฎกที่พระอรหันต์ ๕๐๐ องค์ประชุมกันรวบรวมจัดสรรให้เป็นหมวดหมู่ในคราวปฐมสังคายนาพระพุทธพจน, ข้อความที่มาในพระไตรปิฎก
  4. มลัยชนบท : ชื่อชนบทแห่งหนึ่งในเกาะลังกา เป็นที่ทำสังคายนาครั้งที่ ๕ จารึกพระไตรปิฎกเป็นตัวอักษรลงในใบลานเป็นครั้งแรก
  5. วัฏฏคามณีอภัย : ชื่อพระเจ้าแผ่นดินแห่งเกาะลังกาพระองค์หนึ่ง ครองราชย์ประมาณ พ.ศ.๕๑๕-๕๒๗ ถูกพวกทมิฬแย่งชิงราชสมบัติ เสด็จไปซ่อนพระองค์อยู่ในป่า และได้รบความช่วยเหลือจากพระเถระรูปหนึ่ง ต่อมาพระองค์กู้ราชสมบัติคืนมา ได้ทรงสร้างอภัยคีรีวิหารและอาราธนาพระเถระรูปนั้นมาอยู่ครอง กับทั้งได้ทรงทำนุบำรุงพระพุทธศาสนาอีกเป็นอันมาก การสังคายนาครั้งที่ ๕ ที่จารึกพุทธพจน์ลงในใบลาน ก็จัดทำในรัชกาลนี้
  6. อาโลกเลณสถาน : ชื่อถ้ำแห่งหนึ่งในมลัยชนบท เกาะลังกา เป็นที่ทำสังคายนาครั้งที่ ๕ จารึกพระไตรปิฎกลงในใบลาน

ETipitaka Pali-Thai Dict : จารึก, 9 found, display 1-9
  1. ลิกฺขติ : ก. เขียน, สลัก, จารึก
  2. จารก : (ปุ.) คนเดินทาง, คนเดินป่า.
  3. จารก, - ริก : ๑. ค. ผู้เที่ยวไป, ผู้ท่องเที่ยวไป, ผู้ประพฤติ; ๒. ป. คุก, เรือนจำ
  4. คนฺถธุร : (นปุ.) กิจในคัมภีร์, การเล่าเรียน ความรู้ซึ่งจารึกไว้ในคัมภีร์, การศึกษาคำ สั่งสอนซึ่งจารึกไว้ในคัมภีร์, คันถธุระ ชื่อ ธุระอย่าง ๑ ใน ๒ อย่าง ของพระพุทธ ศาสนา. การเล่าเรียนพระปริยัติธรรมคือ คำสั่งสอน แล้วทรงจำไว้กล่าวสอนไม่ให้ ผิดไปจากหลักตัดสินพระธรรมวินัย ชื่อว่า คันถธุระ. เป็นหน้าที่ของพุทธศาสนิกชน โดยเฉพาะพระภิกษุและสามเณร. ธุระ อีกอย่างหนึ่งคือ วิปัสสนาธุระ.
  5. ปาสาณเลข, - ขา : ป., อิต. รอยเขียนบนหิน, ศิลาจารึก, การเขียนบนแผ่นหิน
  6. ลิกฺขน : นป. การเขียน, การจารึก, การสลัก
  7. สุวณฺณปฎ : (ปุ. นปุ.) แผ่นสำเร็จแล้วด้วยทอง, แผ่นแห่งทอง, แผ่นทอง, สุพรรณบัฎ. สุพรรณบัฎ ไทยใช้เรียกแผ่นทองคำที่จารึกราชทินนามชั้นสูงหรือจารึกพระราชสาสน์. ส. สุวรฺณปฎ.
  8. อภิเลเขติ : ก. ให้เขียน, ให้จารึก
  9. จาริก : (วิ.) ผู้เดินไป, ผู้เที่ยวไป, ผู้เที่ยวไป เพื่อสั่งสอนหรือแสวงบุญ.

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : จารึก, 3 found, display 1-3
  1. จารึก : เลขนํ
  2. การจารึก : เลขนํ
  3. เสด็จพระราชดำเนิน : จาริกํ จรมาโน

(0.1447 sec)