Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: จิ้ม , then จม, จิ้ม .

ETipitaka Pali-Thai Dict : จิ้ม, 42 found, display 1-42
  1. อุปฺลาเปติ : ก. จุ่ม, จม, ดำ, ท่วม
  2. จมู : (อิต.) เสนา, กองทหาร, กองทัพ, กองทัพบก. จมุ อทเน (คมเน), อู อภิฯ ลง อุ ปัจ. เป็น จมุ ฎีกาอภิฯลง อู ปัจ. เป็น จมู. ส. จมู.
  3. จิมิ : ป. นกแก้ว
  4. ปญฺจม : ค. ที่ห้า
  5. ปญฺจมหาปริจฺจาค : ป. การเสียสละอย่างใหญ่ห้า (สมบัติ, ลูก, เมีย, อวัยวะ, ชีวิต)
  6. ปญฺจมหาวิโลกน : นป. การตรวจตราใหญ่ห้าประการ (เวลา, ประเทศ, ทวีป, ตระกูล, มารดา)
  7. วิสีทติ : ก. จม
  8. สสีทติ : ก. จม
  9. สีทติ : ก. จม
  10. กโมฆ : ป. ห้วงคือกาม, กามมีอาการพัดจิตให้จมลงดุจห้วงน้ำ
  11. กลลคต : ค. ตกโคลน, จมโคลน
  12. กาจ : (ปุ.) สาแหรก, จักษุโรค (โรคตาชนิด หนึ่ง), กระจก กาจมโย ปตฺโต ธาเรตพฺโพ. ภิกษุไม่พึงใช้บาตรกระจก ไตร. ๗ / ๓๔. โบราณแปลว่าแก้วหุง. กจฺ พนฺธเน, โณ.
  13. กุสิต : (วิ.) ผู้ถึงแล้วซึ่งความเป็นดุจหญ้าคา, ผู้เกียจตร้าน. กุสปุพฺโพ, อิ คมเน, โต. ผู้จมอยู่โดยอาการอันบัณฑิตพึงเกียด. กุจฺฉิต+สิต.
  14. โกสชฺช : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้จมอยู่โดย อาการอันบัณฑิตพึงเกลียด, ความเป็นแห่ง ผู้เกียจคร้าน. วิ. กุสีทสฺสภาโว โกสชฺชํ. กุสีท + ณฺย ปัจ. ภาวตัท. แปลง อี เป็น อ พฤทธิ อุ เป็น โอ ลบ อ ที่ ท และ ลบ ณฺ รวมเป็น ทยฺ แปลง ทยฺ เป็น ชฺช. รูปฯ ๓๗๑.
  15. นิคาฬฺหิก : ค. อันจมลง, อันหมก, อันติดยึด
  16. นิปชฺชเปติ : ก. ให้นอน, ให้หลับ, ให้จมลง, ฝัง
  17. นิมุคฺค : ค. ซึ่งดำลงแล้ว, ซึ่งจมลงแล้ว
  18. นิมุชฺชติ : ก. ดำลง, จมลง
  19. นิมุชฺชน : นป. การดำน้ำ, การจมน้ำ, การโจนลงไปในน้ำ, การอาบน้ำ
  20. ปคาหติ : ก. ดำน้ำ, โจนน้ำ, จมน้ำ
  21. ปคาฬฺห : กิต. ดำน้ำ, โจนน้ำ, จมน้ำ
  22. วิสีทน : นป. ความจม, ความเศร้าใจ
  23. สสีทน : นป. การจม, ใจหายใจคว่ำ
  24. สสีน : กิต. จมแล้ว, ล่มแล้ว
  25. สีทน : นป. การจม
  26. สีน : กิต. จมแล้ว
  27. อจฺโจคาฬฺห : ค. จมลึกลงไป, เต็มมาก
  28. อชฺโฌคาหติ : ก. หยั่งลง, จมลง, โฉบลง, เข้าไป
  29. อวกฑฺฒติ : ก. ดึง, ฉุด, ลาก, จมลง
  30. อวสีทติ : ก. จมลง, ดิ่งลง
  31. อวิตถ : (วิ.) จริง, แท้. วิ.นตฺถิตถํสจฺจมเตฺรติวิตถํ.นวิตถํอวิตถํ.
  32. อุชฺชล : ค. โชติช่วง, โพลง, แจ่ม
  33. โอคาห : ป. การหยั่งลง, การโฉบลง, การจมลง
  34. โอปิลวติ : ก. จมลงไป, ดำลงไป
  35. โอปิลาเปติ : ก. ให้ดำลง, ให้จมลง, ให้ลอย
  36. โอสฺสนฺน : ๑. กิต. จมลงแล้ว, ล่มลงแล้ว; ๒. ค. ไม่เพียงพอ, ขาดแคลน
  37. โอสาเทติ : ก. ให้จม, ข่มขี่
  38. โอสาเปติ : ก. ให้จม, ให้ตกลง, ให้สิ้นสุดลง
  39. โอสีทติ : ก. จมลง, ล่มลง, ดิ่งลง
  40. โอสีทน : (นปุ.) การจมลง. โอปุพฺโพ, สิทฺ คตฺยวสาเน, ยุ.
  41. โอสีทาปน : นป. การทำให้จมลง
  42. โอสีทาเปติ : ก. ให้จมลง, ให้ล่มลง
  43. [1-42]

(0.0143 sec)