Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: จ้า , then จ้ะ, จา, จ้า .

ETipitaka Pali-Thai Dict : จ้า, 203 found, display 1-50
  1. ททฺทฬฺหติ : ก. ส่องแสงจ้า, ส่องแสงโชติช่วง
  2. โทสิน : ค., อิต. แจ่มแจ้ง, ปราศจากโทษ; (ราตรี) ซึ่งแจ่มจ้า, ซึ่งสว่างด้วยแสงจันทร์, คืนจันทร์แจ่ม
  3. โทสินาปุณฺณมาสี : อิต. ดิถีเพ็ญที่แจ่มจ้า, คืนวันเพ็ญที่มีพระจันทร์แจ่ม
  4. จาควนฺตุ : ค. ผู้มีจาคะ, ผู้มีความเผื่อแผ่, ผู้มีความเสียสละ
  5. จาคาธิฏฐาน : ป. ธรรมที่ควรตั้งไว้ในใจคือจาคะ, ธรรมที่ควรตั้งไว้ในใจคือการสละสิ่งที่เป็นข้าศึกแก่ความจริงใจ (อธิษฐานธรรมอย่างหนึ่งในอธิษฐานธรรมสี่)
  6. จาคานุสฺสติ : อิต. จาคานุสติ, การระลึกถึงทานที่ตนได้บริจาคแล้ว
  7. จาตุทฺทสิก : ค. ซึ่งเป็นไปในวันจาตุททสี, เกี่ยวกับวันจาตุททสี
  8. จาตุทฺทสี : (วิ.) (ดิถี.) ที่สิบสี่ วิ. จตุทฺทสนฺนํ ปูรณี จาตุทฺทสี อี ปัจ. ปูรณตัท.
  9. จาตุพฺเพท : ป. พระเวทสี่ (ใช้เฉพาะในรูปพหุวจนะ = จาตุพฺเพทา)
  10. จาตุมฺมหาราชิก : (วิ.) (เทวดา) ชั้นจาตุมมหา- ราช วิ. จาตุมฺมหาราเชสุ ภตฺติ เอเตสนฺติ จาตุมฺมหาราชิกา ( ผู้ภักดีในท้าวมหาราช ทั้งสี่องค์ ). รูปฯ ๓๖๐. จาตุมฺมหาราเชสุ ถตฺตา เอเตสนฺติ จาตุมฺมหาราชิกา ( ผู้รับ ใช้ในท้าวมหาราชทั้งสี่องค์). โมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๓๒ ณิกปัจ. สกัด.
  11. จาตุรนฺตรสิ : (วิ.) มีรัศมีแผ่ไปในทิศทั้งสี่ (พระอาทิตย์), จาตุรนต์รัศมี.
  12. จาริตฺต : (นปุ.) ความประพฤติ, ความสมสู่ อู่. จาริตฺตํ อาปชฺชิตฺวา ถึงความสมสู่, จารีต. รูปฯ ๖๕๑ ให้ วิ. ว่า จริตานํ คโณ จาริตฺตํ. อถวา, จรนฺติ ตสฺมึ ปริปูริการิตายาติ จาริตฺตํ. จรฺ จรเณ, ณิตฺตปจฺจโย. ไทย จารีต คือสิ่งที่ประพฤติต่อๆ กันมาประเพ ณีที่ถือสืบต่อกันมาหรือการปฏิบัติที่ทำเป็น ประจำ มักพูดว่า จารีตประเพณีใครฝ่าฝืน ถือว่าเป็นผิดเป็นชั่ว.
  13. จาริตฺตสีล : นป. จาริตตศีล, ศีลที่ประพฤติเป็นอาจิณ
  14. จาตก : (ปุ.) นกกระเต็น วิ. โย โอกาสํ อพฺภุคฺ- คนฺตฺวา โอตริตฺวา อุทกพฺภนฺตเร มจฺเฉ คณฺหาติ โส นีลสกุโณ จาตโก นาม. จตฺ ยาจเน, ณฺวุ.
  15. จาตุกุมฺมาส : ป. ขนมกุมมาส (ทำด้วยข้าวต้มผสมนมเปรี้ยว) มีส่วนผสมสี่อย่าง
  16. จาตุทฺทิส : ค. มีในทิศทั้งสี่, ซึ่งเป็นไปในทิศทั้งสี่; ผู้มาแต่ทิศทั้งสี่
  17. จาตุทฺทีป : ค. (กษัตริย์) ผู้ปกครองทวีปทั้งสี่
  18. จาตุทฺทีปก, - ปิก : ดู จตุทฺทีปิก
  19. จาตุมฺมหาปถ : (ปุ.) ทางใหญ่สี่, ภูมิภาคเป็น ที่ประชุมแห่งทางใหญ่สี่, หนทางเป็นที่ ไปแห่งทางใหญ่สี่, ทางใหญ่สี่แพร่ง.
  20. จาตุมฺมหาภูติก : ค. ดู จตุมหาภูติก
  21. จาตุมฺมหาราช : (ปุ.) มหาราชสี่พระองค์.
  22. จาตุมฺมาสินี : อิต. ดิถีเป็นที่เต็มแห่งเดือนทั้งสี่, วันเพ็ญแห่งเดือนที่สี่ (ของแต่ละฤดู)
  23. จาตุรงฺค : (วิ.) มีองค์สี่.
  24. จาตุรงฺคสนฺนิปาต : (ปุ.) การประชุมพร้อมด้วย องค์สี่, การประชุมประกอบด้วยองค์สี่, การประชุมมีองค์สี่. จาตุรงคสันนิบาตเป็น ชื่อของการประชุมในวันมาฆบูชาเมื่อพระ พุทธเจ้าตรัวรู้แล้วได้ ๙ เดือน องค์สี่คือ. – ภิกษุที่มาประชุม ๑๒๕๐ องค์ ล้วน เป็นพระอรหันต์ ภิกษุสงฆ์ทั้งหมดนั้นเป็นเอหิภิกขุ – อุปสัมปทา ภิกษุสงฆ์เหล่านั้นมากันเองโดยมิได้ นัดหมาย และ วันนั้นเป็นวันเพ็ญเดือนมาฆะ
  25. จาตุรนฺต : (ปุ.) เจ้าแห่งทิศสี่, เจ้าแห่งทิศทั้งสี่. จตุ + อนฺต รฺอาคม.
  26. จาตุริย : นป. ความฉลาด, ความชำนาญ, ความสันทัด
  27. จาปก : (ปุ.) นายขมังธนู, พรานธนู.
  28. จารก : (ปุ.) คนเดินทาง, คนเดินป่า.
  29. จารก, - ริก : ๑. ค. ผู้เที่ยวไป, ผู้ท่องเที่ยวไป, ผู้ประพฤติ; ๒. ป. คุก, เรือนจำ
  30. จารณ : ค., นป. ผู้เที่ยวไป, ผู้ประพฤติ; การให้เที่ยวไป, การจัดการ, ความประพฤติ
  31. จาริกา : อิต. การเที่ยว, การท่องเที่ยว, การเดินทาง
  32. จารุทสฺสน : ค. ซึ่งดูเป็นที่พอใจ, น่าดู, น่ารัก, มีเสน่ห์
  33. จาเรติ : ก. ให้เที่ยวไป, ให้เป็นไป, ให้ซ่านไป, ปล่อยให้เที่ยวไป
  34. จาลน : (นปุ.) การยัง...ให้ไหว, ฯลฯ
  35. จาลนี : อิต. เครื่องกรอง (ยา), ตะแกรงร่อนยา
  36. จาเลติ : ก. ทำให้ไหว, ทำให้เคลื่อนไหว, ให้หวั่นไหว, ร่อน
  37. จาเวติ : ก. ทำให้เลื่อน, ทำให้พ้น, ทำให้หลุดไป, พราก, ไล่
  38. จาหา : (อิต.) น้ำชา ?
  39. กุฏจาริกา กุฏธาริกา กุฏหริกา : (อิต.) หญิง รับใช้, หญิงคนใช้, ทาสี. วิ. กุเฏน จรตีติ กุฏจาริกา. กุฏํ ธาเรตีติ กุฏธาริกา. กุฏํ หรตีติ กุฏหริกา.
  40. ปจฺจานุโภติ : ก. ดู ปจฺจานุภวติ
  41. ภทฺทกจฺจานา ภทฺทกจฺจายา : (อิต.) ภัททกิจจานา ภัททกัจจายนา พระนามของพระมเหสีเจ้าชายสิทธัตถะ, พระนางพิมพา.
  42. อติจาริณี : (อิต.) หญิงผู้ประพฤติล่วงโดยปกติ, หญิงนอกใจสามี, หญิงมีชู้.วิ.สามิกํอติกฺกมฺมอญฺญตฺรจรตีติอติจาริณี.อติปุฑฺโพ. จรฺคติยํ, ณี, อิตฺถิยํอินีนสฺสณตฺตํ.
  43. อาโม : อ. ครับ, จ้ะ, เออ
  44. อุจฺจารณา : อิต. ดู อุจฺจารณ
  45. อุจฺจารมคฺค : (ปุ.) ทางแห่งอุจจาระ, ทวาร หนัก. ส. อุจฺจารมรฺค.
  46. อุจฺจาลิงฺค : (ปุ.) บุ้ง, แมลงขนดำ. วิ. อุจฺจํ ฐาน อาลิงฺคตีติอุจฺจาลิงฺโค. อุจฺจปุพฺโพ, อาปุพฺโพ, ลิคิ คติยํ, อุจลตีติ วา อุจฺจาลิงฺโค. อุปุพฺโพ, จลฺ กมฺปเน, โค, จลสฺส จาลิ, นิคฺคหิตาคโม.
  47. กกฺกสวาจา : (อิต.) คำหยาบ, ฯลฯ, วาจา หยาบ, ฯลฯ.
  48. กณฺณจาลน : นป. การกระดิกหู
  49. กายปจารก, - ยปฺปจารก : นป. การยังกายให้ไหว, การคะนองกาย
  50. กิจฺจากิจฺจ : นป. สิ่งที่ควรทำและไม่ควรทำ
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-203

(0.0596 sec)