Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ชีว , then ชว, ชิว, ชีพ, ชีว, ชีวะ, ชีวา .

Royal Institute Thai-Thai Dict : ชีว, 99 found, display 1-50
  1. ชีว, ชีว : [ชีวะ] น. ชีพ, ความเป็นอยู่; พระพฤหัสบดี เช่น ชีววาร. (ป., ส.).
  2. ชีววาร : น. วันพฤหัสบดี, คุรุวาร หรือ พฤหัสปติวาร ก็ว่า.
  3. ชีพ, ชีพ : [ชีบ, ชีบพะ] น. ชีวิต เช่น เสียชีพอย่าเสียสัตย์; ความ เป็นอยู่, ความดำรงชีวิตอยู่ เช่น ค่าครองชีพ. (ป., ส. ชีว).
  4. ชว : [ชะวะ] (แบบ) ว. เร็ว, (มักใช้เป็นส่วนหน้าสมาส) เช่น ชวการ ชวกิจ ชวเลข, แผลงเป็น เชาว์ ก็มี.
  5. ชีวา, ชีว : ดู ชีว, ชีวะ.
  6. เซลล์ : น. (ชีว) หน่วยชีวิตที่เล็กที่สุด; (ไฟฟ้า) เครื่องสําเร็จที่มีส่วนประกอบ ที่เหมาะสม ซึ่งใช้ปฏิกิริยาเคมีเป็นแหล่งกําเนิดพลังงานเป็นผลให้ เกิดมี กระแสไฟฟ้าขึ้นได้. (อ. cell). เซลล์ทุติยภูมิ น. เซลล์ไฟฟ้าประเภทที่เมื่อสร้างเสร็จแล้วต้องนําไป อัดไฟเสียก่อน แล้วจึงจะนําไปใช้เพื่อจ่ายกระแสไฟฟ้าออกได้ เมื่อใช้ไปแล้ว ส่วนประกอบบางส่วนจะหมดเปลืองและแปรสภาพไป แต่อาจทําให้กลับคงคืนสู่สภาพเดิมได้อีก โดยวิธีนําเซลล์ไฟฟ้าไปอัด ไฟใหม่ เช่น แบตเตอรี่รถยนต์. (อ. secondary cell). เซลล์ปฐมภูมิ น. เซลล์ไฟฟ้าประเภทที่เมื่อสร้างเสร็จแล้วก็นําไปใช้ เพื่อจ่ายกระแสไฟฟ้าออกได้ทันที เมื่อใช้ไปแล้ว ส่วนประกอบ บางส่วนจะหมดเปลืองไปโดยไม่กลับคงคืนเป็นสภาพเดิมได้อีก เช่น ถ่านไฟฉาย. (อ. primary cell).
  7. ชีวิตชีว : ดู ชีว, ชีวะ.
  8. ชีวงคต : ดู ชีว, ชีวะ.
  9. ชีวัน : ดู ชีว, ชีวะ.
  10. ชีวันตราย : ดู ชีว, ชีวะ.
  11. ชีวาตม์ : ดู ชีว, ชีวะ.
  12. ชีวาลัย : ดู ชีว, ชีวะ.
  13. ชีวิต : ดู ชีว, ชีวะ.
  14. ชีวิตักษัย : ดู ชีว, ชีวะ.
  15. ชีวิตินทรีย์ : ดู ชีว, ชีวะ.
  16. ชีวิน : ดู ชีว, ชีวะ.
  17. ชีวา, ชีว : (กลอน) น. ชีวิต. (ส. ชีวี ว่า สัตว์มีชีวิต).
  18. คุรุวาร : น. วันครู คือ วันพฤหัสบดี, ชีววาร หรือ พฤหัสปติวาร ก็ว่า.
  19. พฤหัสปติวาร : น. วันพฤหัสบดี, คุรุวาร หรือ ชีววาร ก็ว่า.
  20. อเวจี : น. ชื่อนรกขุม ๑ ในนรก ๘ ขุม ได้แก่ ๑. สัญชีวนรก ๒. กาฬสุตตนรก ๓. สังฆาฏนรก ๔. โรรุวนรก ๕. มหาโรรุวนรก ๖. ตาปนรก ๗. มหาตาปนรก ๘. อเวจีมหานรก ซึ่งเป็นนรกขุมลึกที่สุดสําหรับลงโทษ แก่ผู้ที่มีบาปหนักที่สุด, ใช้เป็น อวิจี หรือ อวีจิ ก็มี.
  21. ชิวหินทรีย์ : น. ลิ้นซึ่งเป็นใหญ่ในการลิ้มรส. (ป. ชิวฺหา + อินฺทฺริย).
  22. กฤษฎา ๓, กฤษฎาญ, กฤษฎาญชลิต, กฤษฎาญชลี, กฤษฎาญชวลิตวา, กฤษฎาญชวลิศ, กฤษฎาญชวเลศ, กฤษฎาญชุลี : [กฺริดสะดา, -ดาน, -ดานชะลิด, -ดานชะลี, -ดานชะวะลิดตะวา, -ดานชะวะลิด, -ดานชะวะเลด,-ดานชุลี] (โบ; กลอน) แผลงมาจาก กฤดาญชลี เช่น ถวายอภิวันทกฤษฎาญ กฤษฎาการกราบเกล้า. (ม. คําหลวง มัทรี; ฉกษัตริย์), กฤษฎาญชลิตไหว้. (มาลัยคําหลวง), กฤษฎาญชลียะยุ่งแล. (ม. คําหลวง ทศพร), อันว่ากฤษฎาญชวลิตวา. (มาลัยคำหลวง), อนนว่าเจ้าสากลกฤษฎาญชวลิศท่านธแล้ว. (ม. คําหลวง ทานกัณฑ์), ถวายกฤษฎาญชวเลศ ทูลแถลงเหตุนุสนธ์. (เพชรมงกุฎ), กฤษฎาญชุลีน้อม. (ฉันทลักษณ์).
  23. ค่าครองชีพ : น. ค่าใช้จ่ายในการดํารงชีพ.
  24. ชวร, ชวระ : [ชวน, ชะวะระ] (แบบ) น. ไข้, ความไข้. ก. เป็นไข้, ป่วย. (ส.; ป. ชร).
  25. ชั่ว ๑ : น. ระยะ เช่น นํ้าลึก ๓ ชั่วคน สูง ๓ ชั่วลําตาล, ระยะเวลา, สมัย, ครั้ง, เช่น ชั่วปู่ย่าตายาย ชั่วพ่อชั่วแม่.
  26. ชั่ว ๒ : ว. เลว, ทราม, ร้าย, ไม่ดีเพราะจงใจฝ่าฝืนศีลธรรมหรือจารีต ประเพณีเป็นต้น เช่น คนชั่ว.
  27. ชั่ว ๓ : บ. ตลอด, สิ้น, เช่น ชั่วอายุ.
  28. ชายาชีพ : (โบ) น. นักเต้นรํา. (ส.).
  29. ชายานุชีพ : (โบ) น. ผัวประจําของหญิงงามเมือง. (ส. ชายานุชีวินฺ).
  30. ชีวิตชีว : ว. สดชื่นคึกคัก.
  31. มฤจฉาชีพ : น. มิจฉาชีพ, การเลี้ยงชีวิตผิดทาง.
  32. มีชีวิตชีว : ว. มีความสดชื่นคึกคัก.
  33. เลี้ยงชีพ : ก. เลี้ยงตัว, ทำมาหากินเพื่อให้ชีวิตดำรงอยู่ได้, เลี้ยงอาตมา ก็ว่า.
  34. สรวมชีพ : ก. ขอชีวิต, ขอจงให้ชีวิตหรือปกป้องชีวิต, ใช้ขึ้นต้นคํา กราบบังคมทูลอย่างขอเดชะ.
  35. สละชีพเพื่อชาติ : ก. ยอมเสียชีวิตเพื่อปกป้องประเทศชาติ.
  36. ชัพ : [ชับ] (แบบ) ว. เร็ว. (ป., ส. ชว).
  37. ชีพิต : ดู ชีพ, ชีพ.
  38. ชีพิตักษัย : ดู ชีพ, ชีพ.
  39. เชาว์ : ว. เร็ว. (แผลงมาจาก ป., ส. ชว).
  40. ยานเกราะ : น. พาหนะล้อหรือสายพานที่สร้างขึ้นด้วยวัสดุที่สามารถ ป้องกันตนเองจากอาวุธยิงเล็งตรงหรืออาวุธยิงเล็งจำลอง และป้องกัน อันตรายจากวัตถุระเบิดหรือป้องกันอันตรายจากนิวเคลียร์ ชีวะ เคมี ในระดับหนึ่ง.
  41. ปฏิชีวนะ : [-ชีวะนะ] น. เรียกยาประเภทที่มีสารที่สกัดจากผลผลิตของเชื้อ จุลินทรีย์ ใช้ฆ่าหรือยับยั้งการแพร่พันธุ์ของแบคทีเรีย ว่า ยาปฏิชีวนะ. (อ. antibiotics).
  42. กรรมาชีพ : [กํา-] น. คําเรียกชนชั้นกรรมกรหรือลูกจ้างผู้หาเลี้ยงชีพด้วย ค่าจ้างแรงงานว่า ชนกรรมาชีพ. (อ. proletariat).
  43. กฤดาญชลี : [กฺริดานชะลี] ก. ยกมือไหว้. (ส.; ป. กตญฺชลี = มีกระพุ่มมืออันทําแล้ว), ในบทกลอนใช้แผลงเป็นรูปต่าง ๆ คือ กฤดาอัญชลี กฤษฎา กฤษฎาญ กฤษฎาญชลี กฤษฎาญชุลี กฤษฎาญชลิต กฤษฎาญชวลิตวา กฤษฎาญชวลิศ กฤษฎาญชวเลศ.
  44. กำลูน : (โบ) ว. น่ากรุณา, น่าเอ็นดู, น่าสงสาร, เช่น ครั้นเห็นยิ่งระทดกําลูน สลดชีวา. (ม. คําหลวง มัทรี). (ป. กลูน).
  45. กินแรง : ก. เอาเปรียบผู้อื่นในการทํางานหรือในการเลี้ยงชีพ; หนักแรง, ต้องใช้แรงมาก.
  46. โกเชาว์ : (แบบ; กลอน) น. ผ้าทําด้วยขนแพะ เช่น ไพจิตรนิทรกําราล กาฬโกเชาว์. (ม. คําหลวง ทานกัณฑ์). (ป. โกชว).
  47. ขอทาน : ก. ขอเงินหรือสิ่งของเลี้ยงชีวิต, หากินทางขอสิ่งที่ผู้อื่นให้. น. เรียกบุคคลที่หาเลี้ยงชีพอย่างนั้นว่า ขอทาน.
  48. ครอง : [คฺรอง] ก. ปกครองรักษาโดยความเป็นใหญ่ เช่น ครองเมือง; ดํารงไว้, รักษาไว้, เช่น ครองสิกขา ครองชีพ ครองตัว; นุ่งห่ม (ใช้แก่นักบวช) เช่น ครองจีวร ครองผ้า; ถือสิทธิเป็นเจ้าของ เช่น เอาไปครองเสียหลายวัน. ครองราชสมบัติ ก. เสวยราชสมบัติเป็นพระมหากษัตริย์.
  49. ครีครอ : [คฺรีคฺรอ] (โบ; กลอน) ว. รีรอ เช่น จักเลี้ยงชีพเคร่าครีครอ อยู่เท่าเพียงพอ ชีพิตก็ยากยังฉงน. (สมุทรโฆษ)
  50. คึกคัก : ว. แข็งแรง, กระปรี้กระเปร่า, มีชีวิตชีวา, เช่น ดูท่าทางคึกคัก; ลักษณะที่มีผู้คนพลุกพล่านเข้า ๆ ออก ๆ มากกว่าปรกติ เช่น บ้านนี้มีผู้คนคึกคัก.
  51. [1-50] | 51-99

(0.1116 sec)