Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ชี้แจง .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ชี้แจง, 64 found, display 1-50
  1. ทีเปติ : ก. จุดไฟ, ส่อง, ส่องแสง, บ่งถึง, ชี้แจง, อธิบาย
  2. เทเสติ : ก. แสดง, ชี้แจง, แนะนำ, สั่งสอน, เทศน์; แสดงหรือปลง (อาบัติ)
  3. นิทฺทิสติ : ก. แสดง, ชี้แจง, อธิบาย
  4. ปริกิตฺตีต : กิต. ประกาศแล้ว, ชี้แจงแล้ว, สรรเสริญแล้ว ก. ประกาศ, ชี้แจง, สรรเสริญ (หน้า 337)
  5. ปริทีเปติ : ก. แสดง, ชี้แจง, ให้ความสว่าง
  6. วิตฺถาเรติ : ก. กว้างขาวง, ชี้แจง, ขยาย
  7. วิภาเวติ : ก. ทำให้แจ้ง, ชี้แจง
  8. อนฺวาทิสติ : ก. แนะนำ, ชี้แจง
  9. อุจฺจารณ : (วิ.) เปล่ง, เทสนา, ชี้แจง, แถลง, บรรยาย, แสดง, สวด. อุปุพฺโพ, จรฺ คติยํ, ยุ.
  10. โอสาเรติ : ก. บรรจุเข้าตำแหน่งเดิม, เรียกเข้าหมู่ ; อธิบาย, ชี้แจง, นำมาพิจารณา
  11. กายวิญฺญตฺติ : อิต. กิริยาให้รู้ชัดด้วยการไหวกาย, การแสดงออกทางกาย, การบอกกล่าว, การชี้แจง
  12. ทีปน : ค., นป. ซึ่งส่อง, ซึ่งแสดง, ซึ่งอธิบาย, การแสดง, การชี้แจง, การอธิบาย
  13. ทีปนา : อิต. การชี้แจง, การอธิบาย, คำชี้แจง, คำอธิบาย, คำแถลง
  14. ทีปนี : ค., อิต. ซึ่งส่อง, ซึ่งแสดง, ซึ่งชี้แจง, ซึ่งอธิบาย; คัมภีร์อธิบายความ
  15. ทีปิต : กิต. (อันเขา) แสดงแล้ว, ชี้แจงแล้ว, อธิบายแล้ว
  16. ทีปิตุ : ป. บุคคลผู้แสดง, ผู้ชี้แจง, ผู้อธิบาย
  17. เทสก : ค. ผู้แสดง, ผู้ชี้แจง, ผู้แนะนำ, ผู้อธิบาย, ผู้เทศก์
  18. เทสก เทสิก : (วิ.) ผู้แสดง, ผู้บรรยาย, ผู้ชี้แจง, ผู้สอน. ทิสฺ ทิสิ วา อุจจารเณ, ณวุ. ส. เทศก.
  19. เทสนา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องแสดง, การแสดง, การบรรยาย, การชี้แจง, การแถลง, การสอน, เทสนา, เทศนา (การแสดงธรรม คำสั่งสอนในทางศาสนา). วิ. เทสียตีติ เท สนา. เทสนํ วา เทสนา, ทิสฺ ทิสิ วา อุจุจารเณ, ยุ, อิศฺถิยํ อา.
  20. เทสิต : กิต. (อันเขา) แสดงแล้ว, ชี้แจงแล้ว, อธิบายแล้ว, เทศน์แล้ว
  21. ธมฺมเทสนา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องแสดงซึ่ง ธรรม, การแสดงธรรม, การชี้แจงธรรม, การสอนธรรม.
  22. นิทฺทส : ป. การชี้แจง, การแสดงออก, การจำแนกออกพรรณนา, การแนะนำ
  23. นิทฺทิฏฐ : ค. ชี้แจง, แสดง, อธิบาย
  24. นิทฺเทส : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องแสดงออก, คำแสดงออก, คำจำแนกออก, คำชี้แจง, คำอธิบาย, การแสดงออก (มาให้เห็น ชัดเจน), การชี้, การชี้ให้เห็นโทษ, การแสดงอรรถที่เป็นข้อๆ ออก, นิทเทศ, นิเทศ (การแสดงอย่างพิสดาร).
  25. นิทสฺสติ : ก. ชี้แจง, แสดง, อธิบาย
  26. นิทสฺสิต : ค. อัน...ชี้แจงแล้ว, อัน...อธิบายแล้ว, อัน...แสดงแล้ว, ซึ่งถูกอ้างถึงแล้ว
  27. นิทสฺเสติ : ก. ชี้แจง, อธิบาย, แสดงความหมาย, แนะนำ
  28. นิปฐ นิปาฐ : (ปุ.) การอ่าน, การฉลาดสอน, ความฉลาดสอน, การอธิบาย, การชี้แจง นิปุพฺโพ, ปฐ วิยตฺติวาจาวิขฺยาเนสุ, อ, โณ.
  29. นิวุตฺต : ค. ซึ่งถูกเรียกชื่อ, ซึ่งถูกชี้แจง, อันถูกโกน, ซึ่งถูกตัด; อันเขาโยน, อันเขาให้
  30. ปฏินิทฺเทส : ป. การกลับชี้แจง, การวกกลับมาอธิบายเรื่องใหม่อีก
  31. ปริทีปก : ค. ผู้แสดง, ผู้ชี้แจงให้, ผู้ให้ความสว่าง
  32. ปริทีปน : นป., - นา อิต. การแสดง, การชี้แจง, การอธิบาย, การให้ความสว่าง
  33. ปวิทเสติ : ก. ชี้แจง, แสดงไข, อธิบาย
  34. วณฺณนา : อิต. การพรรณนา, การชี้แจง
  35. วฺยญฺชยติ : ก. ชี้แจง, แสดง
  36. วาที : ป. ผู้กล่าว, ผู้ชี้แจง, ผู้พูด, ผู้โต้, คนเล่นดนตรี
  37. วิภาวน : นป. การอธิบาย, การชี้แจง
  38. วิสชฺชนา : อิต. การชี้แจง, การตอบ
  39. วิสฺสชฺเชติ : ก. ชี้แจง, แก้ไข; สละ
  40. สนฺทสฺสก : ป. ผู้ชี้แจง, ผู้สั่งสอน
  41. สนฺทสฺสน : (นปุ.) การแสดง, การชี้แจง. สํปุพฺโพ, ทิสฺ เปกฺขเน, ยุ. แปลง ทิส เป็น ทสฺส.
  42. สนฺทสฺเสติ : ก. ชี้แจง, แนะนำ
  43. สสูจก : ค. ผู้ชี้แจง, ผู้แสดง
  44. สูจก : (วิ.) ผู้แต่ง, ผู้ร้อยกรอง, ผู้ชี้แจง, ผู้ประกาศ. สูจฺ คนฺถเน, ณฺวุ. ผู้ส่อเสียด, ผู้พูดส่อเสียด. สูจฺ เปสุญฺเญ.
  45. สูจน : (นปุ.) การแต่ง, ฯลฯ, คำชี้แจง, คำประกาศ, คำแสดง, คำบ่ง, คำระบุ, การส่อเสียด, คำส่อเสียด. ยุ ปัจ.
  46. สูจิ : (อิต.) เข็ม, คำชี้แจง, คำประกาศ, เครื่องชี้, รายการ, สารบัญ, ตาล, กลอน, ลิ่ม. วิ. สูเจติ คฒมคฺคนฺติ สูจิ. สูจฺ ปกาสเน, อิ. ส. สูจิ, สูจี.
  47. อกฺขาน : (นปุ.) การบอก, การกล่าว, การแสดง, การชี้แจง, การสวด, เรื่อง, นิทาน, การเล่านิทาน, เสภา, อาขยาน (บทท่องจำ).อาปุพฺโพ, ขา ปกถเน, ยุ. ส. อาขฺยาน
  48. อติทิสติ : ก. ชี้แจง, แสดง, อธิบาย
  49. อธิปายอธิปฺปาย : (ปุ.) สภาพเป็นที่อาศัยแห่งจิต, สภาพผู้อาศัยซึ่งจิตนอนอยู่, ความประสงค์, ความมุ่งหมาย, ความพอใจ, ความชอบใจ, ความเป็นใหญ่, การออกความเห็นการอธิบาย (ขยายความชี้แจง), วิ.อธิปยติจินฺเตตีติอธิปฺปาโย.อธิปียเตติวาอธิปฺปาโย.อธิปุพฺโพ, ปยฺคมเน, โณ.อิวาคมเน, โณ, ปฺอาคโม.อถวา, โยอตฺโถปณฺฑิเตนอธิปียเตโสอตฺโถอธิปฺปาโย.ส. อภิปฺราย
  50. อธิปาย อธิปฺปาย : (ปุ.) สภาพเป็นที่อาศัยแห่ง จิต, สภาพผู้อาศัยซึ่งจิตนอนอยู่, ความประ สงค์, ความมุ่งหมาย, ความพอใจ, ความชอบใจ, ความเป็นใหญ่, การออกความเห็น การอธิบาย (ขยายความชี้แจง), วิ. อธิปยติ จินฺเตตีติ อธิปฺปาโย. อธิปียเตติ วา อธิปฺปา โย. อธิปุพฺโพ, ปยฺคมเน, โณ. อิ วา คมเน, โณ, ปฺอาคโม. อถวา, โย อตฺโถ ปณฺฑิเตน อธิปียเต โส อตฺโถ อธิปฺปาโย. ส. อภิปฺราย
  51. [1-50] | 51-64

(0.0151 sec)