Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ช่างกล้อง, กล้อง, ช่าง , then กลอง, กล้อง, ชาง, ช่าง, ชางกลอง, ช่างกล้อง .

Royal Institute Thai-Thai Dict : ช่างกล้อง, 216 found, display 1-50
  1. ช่าง : น. ผู้ชํานาญในการฝีมือหรือศิลปะอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น ช่างตัดเสื้อช่างไม้ ช่างไฟ. ว. มีนิสัยชอบในทางใดทางหนึ่ง เช่น ช่างคิด ช่างพูด ช่างประดิษฐ์, มีลักษณะนิสัยโน้มไป ในทางนั้น ๆ เช่น ช่างโง่จริง ๆ ช่าง เก่งจริง ๆ.
  2. ช่าง : ว. ปล่อย, วางธุระ, เช่น ช่างเถิด ช่างมัน.
  3. กล้อง : [กฺล้อง] น. วัตถุลักษณะยาวกลวงตลอด, เรียกของใช้บางอย่างที่มี ลักษณะเช่นนั้น เช่น กล้องเป่าแล่น กล้องส่อง; เครื่องที่มีรูปร่างต่าง ๆ ประกอบด้วยเลนส์สําหรับถ่ายภาพหรือขยายภาพ เช่น กล้องถ่ายรูป กล้องจุลทรรศน์; (ถิ่น-ปักษ์ใต้) หลอด เช่น กล้องเกียง ว่า หลอดตะเกียง.
  4. กล้อง : [กฺล้อง] ว. เรียกข้าวที่สีเอาเปลือกออกโดยยังมีจมูกข้าวและ เยื่อหุ้มเมล็ดข้าวอยู่ว่า ข้าวกล้อง. ก. ตำข้าวเปลือกให้เปลือกหลุด; เกลา, โกลน; โดยปริยายใช้ว่า ทุบ, ถอง.
  5. กล้องตาเรือ : น. กล้องปริทรรศน์.
  6. กล้องตุด : (ถิ่น-ปักษ์ใต้) น. กล้องไม้ซาง.
  7. กล้องปริทรรศน์ : [ปะริทัด] น. กล้องชนิดหนึ่งที่ใช้มองดูสิ่งต่าง ๆ ซึ่งมีที่กำบังขวางกั้น หรือใช้มองดูสิ่งต่าง ๆ ที่อยู่เหนือระดับสายตา ผู้มอง เช่น กล้องเรือดำน้ำ, กล้องตาเรือ ก็เรียก. (อ. periscope).
  8. กล้องสนาม : น. กล้องส่องทางไกล มี ๒ ตา.
  9. กล้องสลัด : น. กล้องที่ใช้ใส่อาวุธซัดไป. (พิชัยสงคราม); กล้องส่องทางไกล มีตาเดียว.
  10. กล้องส่องทางไกล : น. กล้องโทรทรรศน์, กล้องสําหรับส่องดูของไกลให้เห็นใกล้.
  11. ช่างฟิต : (ปาก) น. ช่างแก้เครื่องยนต์.
  12. กล้องแกล้ง : [กฺล้องแกฺล้ง] ว. มีรูปร่างเอวเล็กเอวบาง, อ้อนแอ้น; มีท่าทางเป็นเชิงเจ้าชู้.
  13. ช่างกระไร : คํากล่าวเนื่องจากติเตียน ตัดพ้อ หรือผิดหวัง.
  14. ช่างเครื่อง : น. ผู้ควบคุมเครื่อง.
  15. ช่างทอง : น. ชื่อนกชนิดหนึ่ง. (พจน. ๒๔๙๓).
  16. ช่างปะไร : (ปาก) ว. ปล่อยไปตามเรื่องตามราว, ไม่เอาธุระ.
  17. กระช่าง : (โบ) ว. กระจ่าง เช่น เวหาเห็นกระช่าง. (ม. คําหลวง กุมาร), กระซ่าง ก็ว่า.
  18. ประทากล้อง : [ปฺระทากฺล้อง] น. ทองคําเปลวอย่างหนาและเนื้อดี เหมือนทอง ของหลวง, ใช้ว่า ประทาศี ก็มี, เรียกให้เต็มว่า ทองประทากล้อง ทองประทาศี.
  19. ลำกล้อง : น. ส่วนของปืนที่มีลักษณะยาวกลวง, เรียกสิ่งที่มีลักษณะ คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น ลํากล้องกล้องโทรทรรศน์.
  20. ขัดลำกล้อง : (ปาก) ก. ถ่ายปัสสาวะไม่ค่อยออก (ใช้แก่ผู้ชาย).
  21. ข้าวกล้อง : น. ข้าวที่สีเอาเปลือกออกโดยยังมีจมูกข้าวและเยื่อหุ้ม เมล็ดข้าวอยู่, เดิมใช้วิธีใส่ครกตำเรียกว่า ข้าวซ้อม หรือ ข้าวซ้อมมือ.
  22. งอขี้กล้อง : (ปาก) ว. อาการที่ถูกทำร้ายบริเวณท้องจนล้มลงกับพื้นใน ลักษณะตัวงอคล้ายคนนอนสูบฝิ่น.
  23. ช้อยช่างรำ, ช้อยนางรำ : ดู กระช้อยนางรํา.
  24. ชั่วช่างชี ดีช่างสงฆ์ : (สํา) ว. ปล่อยไปตามเรื่องตามราว ไม่เอาเป็นธุระ.
  25. ถึงก็ช่างไม่ถึงก็ช่าง : (สำ) ก. ไม่เอามาใส่ใจว่าจะเป็นอย่างไร.
  26. บ่างช่างยุ : (สํา) น. คนที่ชอบพูดส่อเสียดยุยงให้เขาแตกกัน.
  27. ปิดกล้อง : (ปาก) ก. เสร็จการถ่ายภาพยนตร์ครั้งสุดท้ายของแต่ละเรื่อง.
  28. เปิดกล้อง : (ปาก) ก. เริ่มการถ่ายภาพยนตร์เป็นปฐมฤกษ์ของ แต่ละเรื่อง.
  29. กบ ๔ : น. เครื่องมือช่างไม้สําหรับไสไม้ ทําหน้าไม้ให้เรียบ ให้เป็น ราง หรือลอกบัว ลอกลวด มีมากชนิดด้วยกัน เช่น กบกระดี่ กบบรรทัด กบบัว; อุปกรณ์ใช้เหลาดินสอ.
  30. กรรมาร : [กํามาน] (แบบ) น. ช่างทอง เช่น กรรมารบุตร. (ส. กรฺมาร; ป. กมฺมาร).
  31. กระช้อยนางรำ : น. ชื่อไม้พุ่มชนิด Codariocalyx motorius Ohashi ในวงศ์ Leguminosae ใบเป็นใบประกอบ มีใบย่อย ๓ ใบ ใบคู่ล่างเล็กกว่าและกระดิกไหวไปมาได้, ช้อยนางรํา ช้อยช่างรํา หรือ นางรํา ก็เรียก.
  32. กระซ่าง : (โบ) ว. กระจ่าง เช่น กระซ่างฟ้าเห็นกัน. (ม. คําหลวง สักบรรพ), กระช่าง ก็ว่า.
  33. กระเวน ๓ : น. ชื่อนกชนิดหนึ่ง เช่น กระเวนวังนัวกระเวนดง ช่างทองลงจับทองยั้ว. (ลอ).
  34. กระแหนะ : [-แหฺนะ] น. ลายปูนปิดทอง. ก. แตะ, เติม; ว่าเปรียบเปรย; กรรมวิธีในการสร้างงานประติมากรรมตกแต่ง หรือ วิธีการช่างจุลศิลป์ประเภทหนึ่ง โดยใช้สมุกปั้นเป็นลวดลาย หรือรูปภาพติดเข้ากับพื้นไม้หรือพื้นกระดาษ เช่น ปั้นหน้ายักษ์หน้าลิงติดลงบนกะโหลกปิดกระดาษทำเป็น หัวโขน, แขนะ ก็ว่า.
  35. กลมกลืนกลอน : น. ชื่อเพลงยาวกลอักษร ตัวอย่างว่า แสนเสียดายหายห่างโอ้ แสนเสียดายกรายนาฏช่าง แสนเสียดายงอนงามเจ้า ให้อ่านว่า แสนเสียดาย หายห่างโอ้ห่างหาย แสนเสียดายกรายนาฏช่างนาฏกราย แสนเสียดายงอนงามเจ้างามงอน. (จารึกวัดโพธิ์).
  36. กลอง ๑ : [กฺลอง] น. เครื่องตีทําด้วยไม้เป็นต้น มีลักษณะกลม กลวง ขึงด้วยหนัง มีหลายชนิด, ถ้าขึ้นหนังหน้าเดียว มีรูปยาวมาก ใช้สะพายในเวลาตี เรียกว่า กลองยาว หรือ เถิดเทิง, ถ้าขึ้นหนังหน้าเดียว มีรูปกลมแบนและตื้น เรียกว่า กลองรํามะนา, ถ้าขึ้นหนังทั้ง ๒ หน้า ร้อยโยงเข้าด้วยกันด้วยหนังเรียด เรียกว่า กลองมลายู, ถ้าร้อยโยงด้วยหวาย เรียกว่า กลองแขก กลองชนะ, ถ้าขึ้นหนังตรึงแน่นทั้ง ๒ หน้า เรียกว่า กลองทัด.
  37. กลอง ๒ : [กฺลอง] น. ชื่อเพลงชนิดหนึ่งเป็นเพลงแขก ใช้ปี่ชวาและกลองแขก ทํานองเล่นกระบี่กระบอง ที่เรียกว่า สะระหม่า, ทําตอนที่เล่นกีฬา ท่าต่าง ๆ มีรําดาบ รําง้าว เป็นต้น เรียกว่า เพลงกลองแขก ก็ได้, อีกอย่างหนึ่งเมื่อรําเป็นท่ามลายู ซึ่งเรียกว่า สะระหม่าแขก ใช้เพลง เรียกว่า กลองมลายูเครื่องและทํานองอย่างเดียวกับ เพลงกลองแขก แต่ในตอนนี้รํากริช.
  38. กล้องจุลทรรศน์ : น. กล้องขยายดูของเล็กให้เห็นเป็นของใหญ่. (อ. microscope).
  39. กล้องโทรทรรศน์ : น. กล้องสำหรับดูของไกลให้เห็นใกล้, กล้องส่องทางไกล ก็ว่า. (อ. telescope).
  40. กล้องระดับ : น. กล้องสํารวจชนิดหนึ่ง เป็นเครื่องวัดระดับชนิด ฟองน้ำที่ใช้ประกอบกับกล้องส่องเพื่อใช้หาระดับสูงต่ำของพื้นที่.
  41. กล้องวัดมุม : น. กล้องสํารวจชนิดหนึ่ง สําหรับวัดมุมแนวนอนและ แนวยืนได้ในขณะเดียวกัน ไม่ว่าที่หมายเล็งจะอยู่บนพื้นดินหรือ ในท้องฟ้าก็ตาม ประกอบด้วยจานองศาแนวนอนกับแนวยืนเพื่อ ใช้วัดมุม. (อ. theodolite).
  42. กล้องสำรวจ : น. กล้องที่ใช้ในงานรังวัดและสํารวจทําแผนที่ มีหลายชนิด เช่น กล้องระดับ กล้องวัดมุม กล้องถ่ายรูปทางอากาศ.
  43. กองทัพ : น. หน่วยทหารที่ประกอบด้วย ทหาร ๓ กองพล และมีทหารหน่วยอื่น ๆ เช่น หน่วยทหารช่าง หน่วยทหารสื่อสาร หน่วยทหารรถถัง หน่วยทหารปืนใหญ่ เป็นส่วนประกอบ มีแม่ทัพเป็นผู้บังคับบัญชา.
  44. กันทร : [-ทอน] (แบบ) น. ถ้า, ซอกเขา (ที่เป็นเองหรือช่างทําขึ้น). (ป., ส.).
  45. กัมมาร : [กํามาน] (แบบ) น. กรรมาร, ช่างทอง, ช่างเหล็ก. (ป.; ส. กรฺมาร).
  46. กัลบก : [กันละ-] (แบบ) น. ช่างตัดผม, ช่างโกนผม. (ส.; ป. กปฺปก).
  47. กุมภการ : น. ช่างหม้อ. (ป.).
  48. ขัดลำ : ก. อาการที่กระสุนปืนค้างติดในลำกล้อง.
  49. ข้าวซ้อม, ข้าวซ้อมมือ : น. ข้าวที่เอาเปลือกออกโดยใช้วิธีใส่ครกตำ ยังมีจมูกข้าวและเยื่อหุ้มเมล็ดข้าวอยู่, ปัจจุบันใช้เครื่องจักรสีข้าวแทน เรียกว่า ข้าวกล้อง.
  50. แขนะ : [ขะแหฺนะ] (โบ) ก. แกะ, สลัก, เจาะ. น. กรรมวิธีในการสร้างงาน ประติมากรรมตกแต่ง หรือวิธีการทางช่างจุลศิลป์ประเภทหนึ่ง โดย ใช้สมุกปั้นเป็นลวดลายหรือรูปภาพติดเข้ากับพื้นไม้หรือพื้นกระดาษ เช่น ปั้นหน้ายักษ์หน้าลิงติดลงบนกะโหลกปิดกระดาษทำเป็นหัวโขน, กระแหนะ ก็ว่า.
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-216

(0.1342 sec)