Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ช้างเท้าหลัง, เท้า, หลัง, ช้าง .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ช้างเท้าหลัง, 712 found, display 1-50
  1. โคปฺผ โคปฺผก : (ปุ.) ข้อเท้า, ตาตุ่ม วิ. โคปิยตีติ โคปฺโผ โคปฺผโก วา คุปฺ รกฺขเณ, โผ ศัพท์ หลัง ก สกัด.
  2. จตุรงฺคินิ : (วิ.) (กองทัพ) มีองค์สี่ ( ช้าง ม้ารถ และพลเดินเท้า ) วิ. จตฺตาริ องฺคานิ ยสฺส วิชฺชนฺติ สา จตุรงฺคินี อี ปัจ. อินี อิต.
  3. มณฺฑุก มฺณฺฑูก : (ปุ.) กบ (สัตว์ ๔ เท้า อยู่ได้ทั้งในน้ำและบนบก) วิ. มณฺเฑ-ติ ชลํ ภูเสตีติ มณฺฑุโก มณฺฑูโก วา. มณฺฑฺ ภูสเน, อุโก. ศัพท์หลัง ทีฆะ.
  4. กุถ : (ปุ. นปุ.) เครื่องลาดหลังช้าง, ผ้าเครื่อง ลาด, ผ้าทำด้วยขนแกะ, ผ้าขนสัตว์, ผ้าสักหลาด. กปฺ สชฺชนายํ โถ, ปฺโลโป, อสฺส. ส. กุถ.
  5. ฉทฺทนฺต : (ปุ.) ฉัททันต์ ชื่อตระกูลช้างตระกูล ที่ ๑๐ ใน ๑๐ ตระกูล มีกายบริสุทธิ์ดังเงิน ยวง ปากและเท้าสีแดง. คัมภีร์ทางพม่า และฎีกาอภิฯ เป็น นปุ.
  6. นิคล นิคฬ : (ปุ. นปุ.) เครื่องผูกเท้าช้างวิ.นิคลติพนฺธติอเนนาตินิคโลนิคโฬวา.นิปุพฺโพ,คลฺเสจเน,อ.
  7. ปิฏฺฐิปาท : ป. หลังเท้า, น่อง
  8. สีปท : (นปุ.) เท้าทู่, โรคเท้าทู่, โรคเท้าช้าง. วิ. ฆนภาวโต สิถิลํ ปทํ สีปทํ. วณฺณนาโส (ลบ ถิล), ทีโฆ จ (และทีฆะ อิ เป็น อี).
  9. เสนงฺค : (นปุ.) ส่วนแห่งกองทัพ, ส่วนแห่งกองทัพนั้น โบราณมี ๕ ส่วน คือ พลช้าง พลม้า พลรถ และพลเดินเท้า. ส. เสนางฺค.
  10. หตฺถตฺถร : ป. ที่รองหลังช้าง
  11. หตฺถิกลก หตฺถิกุลภ : (ปุ.) ช้างสะเทิน (สะเทิน คือรุ่น), ช้างรุ่น. หตฺถี+กลภ ศัพท์หลังแปลง อ เป็น อุ.
  12. อุว อวยฺห : (ปุ.) ช้าง, ม้าชำนิ (ม้าสำหรับขี่ ม้าแสนรู้). ศัพท์แรก อุปุพฺโพ, วา คติยํ, อ. ศัพท์หลัง อุปุพฺโพ, วหฺ ปาปุณเน, โย. เปลี่ยนอักษร.
  13. กรี : (ปุ.) สัตว์มีงวง, ช้าง, ช้างพลาย, ไอยรา. ส. กริน.
  14. จริม จริมก : (วิ.) ก่อน, แรก, หลัง, สุด, สุกท้าย, เสร็จ จร ศัพท์ อิม ปัจ. ศัพท์หลัง ก สกัด
  15. ชิฆญฺญ : (วิ.) สุด, หลัง, เสร็จ, หย่อน, ต่ำช้า, ชั่วช้า, เลวทราม. วิ. ชฆเน สาธุ ชิฆญฺญ. ชฆน ศัพท์ ย ปัจ. ลบ อ ที่ น เหลือเป็น นฺ รวมเป็น นฺย แปลง นฺย เป็น ญฺญ แปลง อ ที่ ช เป็น อิ.
  16. ทิเรท : (ปุ.) สัตว์มีงาสอง, ช้าง, ช้างพลาย. ทฺวิ+รท แปลง ทฺวิ เป็น ทิ.
  17. ปญฺจพนฺธน : นป. การจองจำห้าประการ (คอ ๑, มือ ๒, เท้า ๒)
  18. ปนฺต : (วิ.) สุด, หลัง, เสร็จ, สงัด.ปปุพฺโพ, อมฺ คติยํ, โต. แปลง ต เป็น นฺต ลบที่สุดธาตุ.
  19. หตฺถี : (ปุ.) สัตว์มีงวง, ช้าง, ช้างพลาย, หัสดี, หัสดิน, ไอยรา. หตฺโถ อสฺส อตฺถีติ หตฺถี. ณ ปัจ. ตทัสสัตถิตัท. ส. หสฺติ, หสฺตินฺ.
  20. อนฺต : (วิ.) เลว, ทราม, ต่ำ, ต่ำช้า, ลามก, หลัง, สุด, สุดท้าย.ส.อนฺต.
  21. อนฺติม : (วิ.) เกิดในที่สุด, ประกอบในที่สุด, มีในที่สุด, สุด, สุดท้าย, หลัง, เสร็จ.
  22. อุตฺตร : (วิ.) ยิ่ง, กว่า, ประเสริฐ, สูงสุด (อุตตโร อุตฺตมสทิโส), แข้น (พ้นจาก แห้งจวนแข็ง หรือหมายถึงแข็งก็ได้), กล้าแข็ง, กวน, คน (กวนของให้กระจาย หรือให้เข้ากัน), คม (ไม่ทื่อ), ต่อไป, ซ้าย, เหนือ, หลัง, บน, เบื้องบน, ข้างบน, พ้น, อื่น.
  23. อุปขนฺธ : ป. ส่วนบนของลำตัว, หลัง, ไหล่
  24. กิรินฺท : (ปุ.) ช้างผู้เป็นจอมแห่งช้าง, ช้าง ผู้เป็นเจ้า.
  25. ทนฺตี : (ปุ.) สัตว์มีเขี้ยว, สัตว์มีงา, ช้าง, ช้าง พลาย. ทนฺต+อี ปัจ. ตทัสสัตถิตัท. ส. ทนฺตินฺ.
  26. กฏุ กฏก : (วิ.) เผ็ด, เผ็ดร้อน, หยาบ, หยาบคาย, ดุ, ดุร้าย, ผิด, ไม่ควร, ไม่ สมควร. กฏฺ คติยํ, อุ. ศัพท์ หลัง ก สกัด แต่อภิฯ และฎีกาอภิฯ ลง ณฺวุ ปัจ แปลง ณวุ เป็น อก แล้ว ฏฺ อาศัย อ แปลง อ ที่ ฏ เป็น อุ. ส. กฏุ. กฏุ
  27. กถลา : (อิต.) ของที่ให้สุกด้วย ไฟ, กระเบื้อง. กถฺ นิปฺปาเก, อโล. ศัพท์ หลัง ก สกัด อิ อาคม.
  28. กถลิก : (นปุ.) ของที่ให้สุกด้วย ไฟ, กระเบื้อง. กถฺ นิปฺปาเก, อโล. ศัพท์ หลัง ก สกัด อิ อาคม.
  29. กรหาฏ กรหาฏก : (นปุ.) เหง้าในดิน, หัวใน ดิน, เหง้า, หัว, ก้านดอกไม้. วิ. กุยํ รูหตีติ กรหาฏํ. กุปุพฺโพ, รุหฺ ชนเน, อาโฏ, อุสฺสตฺตํ. ศัพท์ หลัง ก สกัด.
  30. กายวาจาทิ : (วิ.) มีกายกรรมและวจีกรรม เป็นต้น. ลบ กมฺม หลัง กาย, วาจา ออก. มีกายทวาร และวจีทวาร เป็นต้น. ลบ ทฺวาร ออก.
  31. กิเลส เกฺลส : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องเศร้าหมอง, ธรรมเป็นเครื่องเศร้าหมองแห่งจิต, ธรรม อันยังจิตให้เศร้าหมอง, ความเศร้าหมอง ความเปรอะเปื้อน (แห่งจิต), ความลำบาก, ความเบียดเบียน, ความกำจัด, ความทำลาย, ความเผา, ความแผดเผา, ความทุกข์, ภาวะที่เกิดขึ้นในใจ และทำใจให้เศร้า หมอง, มลทิน (ของใจ), วิ. กิลิสฺสนฺติ เอเตหิ สตฺตาหิ กิเลสา. กิลิสนํ วา กิเลโส. กิลิสฺ กิเลสนวิพาธนอุปตาเปสุ, อ. ศัพท์ หลัง แปลง อิ เป็น เอ. นัยของวิปัสสนา ปทีปนีฎีกา.
  32. กุญฺจ : (ปุ.) ช้าง. กุชิ สทฺเท, อ, นิคฺคหิตาคโม, ชสฺส โจ.
  33. กุนตฺถุ : (อิต.) ดั้งจมูก. นตฺถุ+กุฏิ หรือ กุฏิ ลบ ฏิ หรือ ฏิก แล้วกลับบทหน้าไว้ หลัง.
  34. กุรณฺฑก กุรุณฺฑก : (ปุ.) หญ้าหางช้าง, ว่านหาง- ช้าง. กุรฺ สทฺเท, โฑ, สกตฺเถโก, ณฺสํโยโค.
  35. คช, คชก : ป. ช้าง
  36. คทฺธ คนฺธ : (ปุ.) แร้ง, นกแร้ง. คทฺธ อภิกงฺขายํ, อ. อภิฯ เป็น คิทฺธิ ธาตุ แปลง อิ ที่ คิ เป็น อ ศัพท์ หลัง คิธฺ อภิกงฺขายํ. แปลง อิ เป็น อ และ ลงนิคคหิตอาคม.
  37. จรณ : (ปุ. นปุ.) ตีน, เท้า. วิ. จรติ เอเตนาติ จรณํ. จรฺ คติยํ, ยุ.
  38. ชงฺฆมคฺค : (ปุ.) ทางอันสัตว์ไปด้วยแข้ง, ทาง เท้า วิ. ชงฺฆาหิ คโต มคฺโค ชงฺฆมคฺโค.
  39. ตทตฺถ : (อัพ. นิบาต) ความพยายามเพื่อประ – โยชน์แก่สิ่งนั้น วิ. ตสฺส อตฺถาย ตทตฺโถ (วายาโม). การทำเพื่อประโยชน์แก่สิ่งนั้น. ตทตฺถา (ภาวนา). จ.ตัป. รูปฯ ๓๓๖. ท หลัง ต ทั้ง ๕ ศัพท์นั้น คือ ทฺ อาคม.
  40. ตลิก : ค. ผู้มีฝ่า (มือ-เท้า)
  41. ถูลปาท : ป. ช้าง
  42. ทนฺตาวล : (ปุ.) ช้าง. ทนฺต อา บทหน้า วลฺ ธาตุในความเลี้ยง อ ปัจ. ส. ทนฺตาวล.
  43. ทุรภิ ทุรม : (วิ.) อันรื่นรมย์ได้โดยยาก,ฯลฯ. ทุกฺข+รภฺธาตุในความยินดี อ ปัจ. ศัพท์ หลัง รมฺธาตุ.
  44. นคช : (ปุ.) ชนเกิดที่ภูเขา, คนชาวเขา, ชาว เขา, สัตว์เกิดที่ภูเขา, ช้าง.
  45. นนฺธี : (อิต.) เชือกหนัง, สายเชือก, สายรอง เท้า. วิ. นหฺยเต ยาย สา นนฺธี. นหฺ พนฺธเน, โต, อี. แปลง ด เป็น นฺธ ลบ หฺ.
  46. นาคี : (ปุ.) งู, ช้าง.
  47. ปโตท : ป. ประตัก, เครื่องแทง, ขอสับ (ช้าง) ; เดือย, เดือยไก่
  48. ปถาวี ปถิก : (ปุ.) คนไปในหนทาง, คนไปสู่ หนทาง, คนเดินทาง วิ. ปเถ ปถํ วา คจฺฉตีติ ปถาวี. วี ปัจ. ทีฆะ อ ที่ ถ เป็น อา. อภิฯ ลง วี ปัจ.รูปฯ และ โมคฯ ลง อาวี ปัจ. ศัพท์ หลัง วิ. เหมือน ปถาวี. อภิฯ ลง อิก ปัจ.รูปฯ ลงณิก ปัจ.
  49. วารณ : ๑. นป. การกั้น, การป้องกัน; ๒. ป. ช้าง
  50. สินฺธุร : (ปุ.) ช้าง. ส. สินธุร.
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-712

(0.0541 sec)