Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ฐาน , then ฐาน, ฐานะ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ฐาน, 182 found, display 1-50
  1. ฐาน : นป. ฐานะ, การตั้งอยู่, การดำรงอยู่, การหยุดอยู่, ที่ตั้ง, หลักแหล่ง, ตำแหน่ง, เหตุ, โอกาส
  2. ฐาน : (วิ.) เป็นที่ตั้ง, เป็นที่อันเขาตั้ง, เป็นที่ ยืน, เป็นที่อันเขายืน. วิ. ติฏฺฐติ เอตฺถาติ ฐานํ. ติฏฺฐิยเต เอตฺถาติ วา ฐานํ. เป็นที่ตั้ง แห่งผล วิ. ติฏฺฐติ ผลํ เอตฺถาติ ฐานํ. เหตุ, มูลเค้า. ฐา คตินิวตฺติยํ, ยุ.
  3. ฐานนฺตร : (นปุ.) ลำดับแห่งตำแหน่ง, ฐานันดร ( ตำแหน่ง ตำแหน่งยศ ลำดับ แห่งยศ บรรดาศักดิ์, หน้าที่การงาน). ฐาน + อนฺตร.
  4. ฐานโส : (อัพ. นิบาต) โดยความจำแนก โดย ฐานะ, โดยฐานะ, โดยพลัน โส ปัจ. ฐานตัท.
  5. ฐานโส : ก. วิ. โดยเหตุ, โดยฐาน
  6. ฐานฐาน : (นปุ.) ความเป็นไปได้และความเป้นไปไม่ได้, สิ่งที่เป็นไปได้และสิ่งที่เป็น ไปไม่ได้, ฐานะและอฐานะ.
  7. ฐานานุกฺกม : (ปุ.) อันก้าวไปตามซึ่งตำแหน่ง, ความก้าวไปตามฐานะ, ฐานานุกรม ชื่อ ลำดับตำแหน่งสมณศักดิ์พระสงฆ์ ซึ่งพระ ราชาคณะมีอำนาจตั้งสมณศักดิ์ให้ตามที่ ท่านได้มาเมื่อรับพระราชทานสมณศักดิ์.
  8. ฐานกรณ : (นปุ.) ที่ตั้งและวัตถุเป็นเครื่องทำ (ให้เกิดเสียงในการพูด).
  9. ฐานนฺตร : นป. ฐานันดร, ลำดับแห่งยศบรรดาศักดิ์
  10. อภิฐาน : (นปุ.) ฐานยิ่ง, ฐานะอย่างหนัก, อภิฐานะชื่อของความผิดสถานหนักมี๖อย่างคืออนันตริยกรรม๕ การปฏิญญาณรับถือศาสนาอื่นในขณะที่ครองเพศบรรพ-ชิตเป็นข้อที่ ๖.
  11. ตจปญฺจกกมฺมฏฺฐาน : (นปุ.) กัมมัฎฐานมี ประชุมแห่งอาการห้ามีหนังเป็นที่สุดเป็น อารมณ์ มี วิ. ดังนี้ :- ๑ กณฺ ปัจ. สมุหตัท. ปญฺจนฺนํ อาการานํ สมุโห ปญฺจกํ ฉ.ตุล. ตโจ ปริยนฺโต ยสฺส ตํ ตจ ปริยนฺตํ วิเสสนบุพ.กัม ตจปริยนฺตญฺจ ตํ ปญฺจ- กญฺจาติ ตจปญฺจกํ. ฉ. ตุล ตจปญฺจกํ อารมฺมณํ ยสฺส ตํ ตจฺปญฺจการมฺมณํ. วิเสสนบุพ.กัม. ตจปญฺจการมฺมณญฺจ ตํ กมฺมฏฺฐานญฺจาติ ตจปญฺจกกมฺมฏฐานํ. นอกจากนี้ยังมีสำนวน แปลอย่างอื่นอีก คือกัมมัฏฐานมีหมวด แห่งส่วนห้าแห่งอาการมีหนังเป็นที่สุด เป็นอารมณ์กัมมัฏฐานอันบัณฑิตกำหนด ด้วยอาการมีหนังเป็นที่ห้าด้วยอารมณ์, พึง ตั้ง วิ. ตามสำนวนแปล. กัมมัฏฐานนี้เป็น กัมมัฏฐานแรก ซึ่งพระอุปัชฌาย์สอนนาค ก่อนที่จะบรรพชาอุปสมบท สำหรับใช้ ภาวนาจึงเรียกว่า มูลกัมมัฏฐาน เป็น สมถกัมมัฏฐานก็ได้เป็นวิปัสสนากัมมัฏ- ฐานก็ได้ แล้วแต่การภาวนาว่า เกสา โลมา นขา ทันตา ตโจ ตโจ ทันตา ทขา โลมา เกสา ไม่ได้พิจารณาว่า ผม ฯลฯ ไม่งาม ฯลฯ ก็เป็นสมถกัมมัฏฐาน ถ้าพิ – จารณาผม ฯลฯ แยกให้เห็นเป็น สามัญ – ลักษณะ ก็เป็นวิปัสสนากัมมัฏฐาน.
  12. ทฺวตฺตีสาการกมฺมฏฺฐาน : (นปุ.) กัมมัฏฐาน มีอาการสามสิบสองเป็นอารมณ์.
  13. ทิฏฺฐิฏฺฐาน : นป. ฐานเป็นที่ตั้งแห่งทิฐิ
  14. ธมฺมาธิฐาน : (นปุ.) การตั้งไว้ซึ่งธรรม, การตั้งไว้ซึ่งสภาวะ, ธรรมาธิษฐาน คือ การยกหลักธรรมหรือสิ่งที่เป็นนามธรรมล้วนๆมาตั้งหรืออธิบาย. การอธิบายธรรมล้วนๆ ไม่มีสัตว์บุคคลเข้าประกอบ เรียก ว่าธรรมาธิษฐาน. คู่กันกับปุคลาธิษฐาน. ส. ธรฺมาธิษฺฐาน.
  15. มูลกมฺมฏฺฐาน : (นปุ.) กัมมัฏฐานเดิม, กัมมัฏฐานอันเป็นเดิม, ได้แก่ เกสา โลมา นขา ทนฺตา ตโจ ซึ่งพระอุปัชฌาย์ให้เมื่อขอบรรพชาอุปสมบท.
  16. อธิฎฺฐาน : (นปุ.) ธรรมชาติเครื่องตั้งทับ, คุณชาตตั้งไว้ซึ่งจิตยิ่ง, ความตั้งจิตปราถนา, ความตั้งใจมั่น, อธิษฐาน (ตั้งจิตมุ่งผลที่ตนปราถนา), พิษฐาน (ความตั้งใจ ความมั่นหมาย, ความจงใจ)คำพิษฐานนี้เลือนมาจากอธิษฐาน.ส.อธิษฺฐาน.
  17. อธิฎฺฐาน : (นปุ.) ธรรมชาติเครื่องตั้งทับ, คุณ ชาตตั้งไว้ซึ่งจิตยิ่ง, ความตั้งจิตปราถนา, ความตั้งใจมั่น, อธิษฐาน (ตั้งจิตมุ่งผลที่ตน ปราถนา), พิษฐาน (ความตั้งใจ ความมั่น หมาย, ความจงใจ) คำพิษฐาน นี้เลือนมา จาก อธิษฐาน. ส. อธิษฺฐาน.
  18. อารกฺขกมฺมฏฺฐาน : (นปุ.) อารักขกัมมัฏฐานชื่อของกัมมัฏฐานหมวดหนึ่งมี ๔ ข้อ.
  19. คตฏฐาน : นป. ที่หรือฐานะซึ่งไปแล้วหรือถึงแล้ว
  20. จิณฺณฏฐาน : นป. ที่ตนเคยเที่ยวไปแล้ว; ฐานะที่เคยประพฤติมาแล้ว
  21. โพธิฏฺฐาน : นป. ภาวะหรือฐานะแห่งการตรัสรู้
  22. มลาคนฺธวิเลปนธารณมณฺฑนวิภูสนฏฺฐาน : (นปุ.) การทัดทรงและการประดับและการตกแต่งร่างกายด้วยดอกม้าและของหอมและเครื่องประเทืองผิวอันเป็นฐานะแห่งการแต่งตัว, ฐานะอันเป็นที่ตั้งแห่งการทัดทรงและการประดับและการตกแต่งด้วยดอกไม้และของหอมและเครื่องลูบไล้ (เครื่องย้อมเครื่องทา), การทัดทรงการประดับและการตกแต่งร่างกายด้วยดอกไม้ของหอมเครื่องย้อมเครื่องทาอันเป็นฐานะแห่งการแต่งตัว.
  23. อฏฺฐาน : (นปุ.) ที่มิใช่ฐานะ, ฐานะไม่ควร.
  24. อฏฺฐาน : (นปุ.) ที่มิใช่ฐานะ, ฐานะไม่ควร.
  25. อภพฺพฏฺฐาน : นป. ฐานะที่ไม่ควร, ฐานะที่เป็นไปไม่ได้
  26. อรกฺขิตพฺพฏฺฐาน : (นปุ.) ฐานะอัน...ไม่พึงรักษา
  27. อวฏฺฐาน : นป. ฐานะ, ตำแหน่ง, ที่ตั้ง
  28. กติกาสณฺฐาน : นป. การเข้าถึง, การนัดหมายกัน, การตกลงกัน
  29. กมฺมฏฐาน : นป. กรรมฐาน
  30. กมฺมนฺตฏฐาน : นป. ที่เป็นที่ตั้งแห่งการทำงาน, สถานที่ทำงาน
  31. กมฺมวฏฐาน : นป. การกำหนดกรรม, การเป็นไปตามกรรม
  32. กสิตฏฐาน : นป. ที่ที่ไถแล้ว, ที่พรวนแล้ว
  33. กุมฺภฏฺฐาน : (นปุ.) ท่าน้ำ.
  34. กุมฺภฏฐานกถา : อิต. การพูดคุยกันถึงเรื่องท่าน้ำ, พูดคุยกันที่บ่อน้ำ
  35. กุลฺลกสณฺฐาน : ค. มีสัณฐานดังพ่วงแพรูปร่างเหมือนแพ
  36. เขมฏฐาน : นป. สถานที่อันเกษม, สถานที่ปลอดภัย
  37. คณฺฐิฏฐาน : นป. ทางที่ทุรกันดาร
  38. คพฺภวุฏฐาน : นป. การคลอดบุตร
  39. คพฺภวุฏฺฐาน : (นปุ.) การออกแห่งสัตว์ผู้เกิดใน ท้อง, การออกแห่งสัตว์ผู้เกิดในครรภ์, การคลอดลูก.
  40. คมนฏฺฐาน : (นปุ.) ที่เป็นที่ไป.
  41. คหนฏฐาน : นป. ที่อาศัยในป่าชัฏ
  42. คามฏฐาน : นป. ที่เคยตั้งบ้าน, บ้านเก่า, บ้านร้าง
  43. คูถฏฐาน : นป. ส้วม, ที่ถ่ายคูถ, ถาน, เวจ
  44. เคฏฐาน : นป. ที่ตั้งบ้าน, บริเวณบ้าน, บริเวณที่อยู่อาศัย
  45. จตุจตฺตาฬีสโกฏิธนฏฺฐาน : (นปุ.) ที่เป็นที่ตั้ง แห่งทรัพย์มีโกฏิสี่สิบสี่เป็นประมาณ, ที่ เป็นที่ตั้งแห่งทรัพย์ มีโกฏิสี่สิบสี่, ที่เป็น ที่ตั้งแห่งทรัพย์สี่สิบสี่โกฏิ.
  46. จตุธาตุววฏฐาน : (นปุ.) การกำหนดซึ่งธาตุสี่, ความกำหนดธาตุสี่.
  47. จตุราธิฏฐาน : ค. ผู้มีอธิษฐานธรรมสี่
  48. จาคาธิฏฐาน : ป. ธรรมที่ควรตั้งไว้ในใจคือจาคะ, ธรรมที่ควรตั้งไว้ในใจคือการสละสิ่งที่เป็นข้าศึกแก่ความจริงใจ (อธิษฐานธรรมอย่างหนึ่งในอธิษฐานธรรมสี่)
  49. ฐปนฏฺฐาน : (นปุ.) ที่เป็นที่ตั้งไว้.
  50. ฐิตฐาน : ค. ที่เป็นที่ยืน, สถานที่ตั้ง
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-182

(0.0876 sec)