Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ฒา , then , ฒา .

Eng-Thai Lexitron Dict : ฒา, not found

Thai-Eng Lexitron Dict : ฒา, 10 found, display 1-10
  1. เฒ่า : (V) ; be old ; Syn:แก่, ชรา ; Def:มีอายุมาก ; Samp:แกเฒ่ามากแล้ว อย่าไปเอาเรื่องเอาราวกับแกเลย
  2. เฒ่า : (ADJ) ; old ; Related:aged, elderly ; Syn:แก่, ชรา, อาวุโส ; Def:ที่มีอายุมาก ; Samp:สถานการณ์เช่นนี้ ต้องทำให้เสือเฒ่าถอยหนีอย่างไม่เป็นท่า
  3. แก่ 1 : (V) ; be old ; Related:be aged ; Syn:ชรา, เฒ่า ; Ant:อ่อน, หนุ่มสาว, เด็ก ; Def:มีอายุมาก, อยู่ในวัยชรา ; Samp:เราควรใช้ชีวิตให้สมวัย เมื่อแก่ก็ดำเนินชีวิตวัยชราให้สมวัยอย่างสดชื่น
  4. ชรา : (V) ; old ; Related:aged, senile ; Syn:แก่, หง่อม, เฒ่า
  5. เถ้า 2 : (N) ; old person ; Syn:แก่, เฒ่า, แก่เฒ่า ; Def:มีอายุมาก ; Samp:จากการกระเซ้าครั้งนี้ เถ้าเจ้าเล่ห์เลยนึกสนุกเลียนแบบออกปากชวนทีเล่นทีจริงบ้าง
  6. พุฒ : (ADJ) ; old ; Syn:แก่, เฒ่า ; Def:ที่มีอายุมากแล้ว
  7. มีอายุ : (ADJ) ; old ; Related:elderly, aged ; Syn:สูงอายุ, ชรา, แก่, เฒ่า ; Samp:เขามีผมขาวตั้งแต่อายุยังน้อย ดูเหมือนคนมีอายุ
  8. ไม้ใกล้ฝั่ง : (ADJ) ; old ; Related:aged, elderly, patriarchal, superannuated, gray ; Syn:แก่, ชรา, อาวุโส, เฒ่า, สูงอายุ ; Def:แก่ใกล้จะตาย
  9. สูงอายุ : (ADJ) ; old ; Related:aged, elderly ; Syn:แก่, ชรา, เฒ่า ; Ant:สาว, อ่อน, หนุ่ม ; Def:มีอายุมาก ; Samp:โรคต้อกระจกพบมากในคนไข้สูงอายุ
  10. อักษรต่ำ : (N) ; low-tone consonants ; Related:low-class letters ; Def:พยัญชนะที่คำเป็นมีพื้นเสียงเป็นเสียงสามัญ ผันได้ 3 เสียง มี 2 รูป มี 24 ตัว คือ ค ฅ ฆ ง ช ซ ฌ ญ ฑ ฒ ณ ท ธ น พ ฟ ภ ม ย ร ล ว ฬ ฮ ; Unit:ตัว

Royal Institute Thai-Thai Dict : ฒา, 9 found, display 1-9
  1. : พยัญชนะตัวที่ ๑๘ นับเป็นพวกอักษรตํ่า ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กด ในคําที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤต เช่น วัฒน์ วุฒิ.
  2. เฒ่า : ว. แก่, มีอายุมาก, เถ้า ก็ใช้.
  3. พฤฒ, พฤฒา : [พฺรึด, พฺรึดทา] ว. เจริญ, แข็งแรง, ใหญ่; แก่, เฒ่า, พฤทธ์ ก็ว่า. (ส.).
  4. พฤทธ์ : [พฺรึด] น. ผู้ใหญ่. ว. เจริญ, แข็งแรง, ใหญ่; แก่, เฒ่า, (ตรงข้ามกับ ยุว); ฉลาด, ชํานาญ; เจนจบ, พฤฒ ก็ใช้. (ส. วฺฤทฺธ).
  5. กด ๑ : น. เรียกคำหรือพยางค์ที่มีตัว จ ฉ ช ซ ฌ ฎ ฏ ฐ ฑ ฒ ด ต ถ ท ธ ศ ษ ส สะกด ว่า แม่กด หรือ มาตรากด.
  6. มาตรา : [มาดตฺรา] น. หลักกําหนดการวัดขนาด จํานวน เวลา และมุม เช่น มาตราชั่ง ตวง วัด มาตราเมตริก; แม่บทแจกลูกพยัญชนะต้นกับสระ โดยไม่มีตัวสะกด เรียกว่า แม่ ก กา หรือ มาตรา ก กา, หลักเกณฑ์ที่ วางไว้เพื่อให้กำหนดได้ว่าคำที่มีพยัญชนะตัวใดบ้างเป็นตัวสะกด อยู่ในมาตราใดหรือแม่ใด คือ ถ้ามีตัว ก ข ค ฆ สะกด จัดอยู่ใน มาตรากกหรือแม่กก, ถ้ามีตัว ง สะกด จัดอยู่ในมาตรากงหรือ แม่กง, ถ้ามีตัว จ ฉ ช ซ ฌ ฎ ฏ ฐ ฑ ฒ ด ต ถ ท ธ ศ ษ ส สะกด จัดอยู่ในมาตรากดหรือแม่กด, ถ้ามีตัว ญ ณ น ร ล ฬ สะกด จัดอยู่ในมาตรากนหรือแม่กน, ถ้ามีตัว บ ป พ ฟ ภ สะกด จัดอยู่ ในมาตรากบหรือแม่กบ, ถ้ามีตัว ม สะกด จัดอยู่ในมาตรากม หรือแม่กม, ถ้ามีตัว ย สะกด จัดอยู่ในมาตราเกยหรือแม่เกย, ถ้ามีตัว ว สะกด จัดอยู่ในแม่เกอว; (กฎ) บทบัญญัติใน กฎหมายที่แบ่งออกเป็นข้อ ๆ โดยมีเลขกํากับเรียงตามลําดับ; (ฉันทลักษณ์) ระยะเวลาการออกเสียงสระสั้นยาว สระสั้น ๑ มาตรา สระยาว ๒ มาตรา.
  7. มุทธชะ : [มุดทะ-] (ไว) น. อักษรในภาษาบาลีและสันสกฤตที่มีเสียงเกิดจากการ ม้วนลิ้นไปสู่เพดานแข็งตอนหลัง ได้แก่ พยัญชนะวรรค ฏ คือ ฏ ฐ ฑ ฒ ณ และอักษร ร รวมทั้งอักษร ฬ ในภาษาบาลี และ ษ กับ ฤ ฤๅ ในภาษาสันสกฤต. (ป.; ส. มูรฺธนฺย).
  8. แม่ : น. หญิงผู้ให้กําเนิดหรือเลี้ยงดูลูก, คําที่ลูกเรียกหญิงผู้ให้กําเนิดหรือเลี้ยงดูตน; คําที่ผู้ใหญ่เรียกผู้หญิงที่มีอายุน้อยกว่าด้วยความสนิทสนมหรือรักใคร่เป็นต้นว่า แม่นั่น แม่นี่; คําใช้นําหน้านามเพศหญิง แปลว่า ผู้เป็นหัวหน้า เช่น แม่บ้าน; ผู้หญิงที่กระทํากิจการหรืองานอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น ค้าขาย เรียกว่า แม่ค้า ทําครัว เรียกว่า แม่ครัว; เรียกสัตว์ตัวเมียที่มีลูก เช่น แม่ม้า แม่วัว; เรียกคน ผู้เป็นหัวหน้าหรือเป็นนายโดยไม่จํากัดว่าเป็นชายหรือหญิง เช่น แม่ทัพ แม่กอง; คํายกย่องเทวดาผู้หญิงบางพวก เช่น แม่คงคา แม่ธรณี แม่โพสพ, บางทีก็ใช้ว่า เจ้าแม่ เช่น เจ้าแม่กาลี; เรียกสิ่งที่เป็นประธานของสิ่งต่าง ๆ ในพวกเดียวกัน เช่น แม่กระได แม่แคร่ แม่แบบ; เรียกชิ้นใหญ่กว่าในจําพวกสิ่งที่สําหรับกัน เช่น แม่กุญแจ คู่กับ ลูกกุญแจ; แม่นํ้า เช่น แม่ปิง แม่วัง; คําหรือพยางค์ที่มีแต่สระ ไม่มีตัวสะกด เรียกว่า แม่ ก กา, คําหรือพยางค์ที่มีตัว ก ข ค ฆ สะกด เรียกว่า แม่กก, คําหรือพยางค์ที่มีตัว ง สะกด เรียกว่า แม่กง, คําหรือพยางค์ที่มีตัว จ ฉ ช ซ ฌ ฎ ฏ ฐ ฑ ฒ ด ต ถ ท ธ ศ ษ ส สะกด เรียกว่า แม่กด, คําหรือพยางค์ ที่มีตัว ญ ณ น ร ล ฬ สะกด เรียกว่า แม่กน, คําหรือพยางค์ที่มีตัว ม สะกด เรียกว่า แม่กม, คําหรือพยางค์ที่มีตัว ย สะกด เรียกว่า แม่เกย แต่ในมูลบทบรรพกิจมี ย ว อ สะกด, คําหรือพยางค์ที่มีตัว ว สะกด เรียกว่า แม่เกอว.
  9. อักษรต่ำ : [อักสอน] น. พยัญชนะที่คําเป็นมีพื้นเสียงเป็นเสียง สามัญ ผันได้ ๓ เสียง มี ๒ รูป คือ ผันด้วยวรรณยุกต์ ? เป็นเสียงโท ผันด้วยวรรณยุกต์ ?เป็นเสียงตรี เช่น คา ค่า ค้า คําตายสระสั้น พื้น เสียงเป็นเสียงตรี ผันด้วยวรรณยุกต์ ? เป็นเสียงโท ผันด้วยวรรณยุกต์ ? เป็นเสียงจัตวา เช่น คะ ค่ะ ค๋ะ คําตายสระยาว พื้นเสียงเป็นเสียงโท ผันด้วยวรรณยุกต์ ?เป็นเสียงตรี ผันด้วยวรรณยุกต์ ? เป็นเสียงจัตวา เช่น คาก ค้าก ค๋าก มี ๒๔ ตัว คือ ค ฅ ฆ ง ช ซ ฌ ญ ฑ ฒ ณ ท ธ น พ ฟ ภ ม ย ร ล ว ฬ ฮ.

Budhism Thai-Thai Dict : ฒา, 1 found, display 1-1
  1. ธนิต : พยัญชนะออกเสียแข็ง ได้แก่ พยัญชนะที่ ๒ ที่ ๔ ในวรรคทั้ง ๕ คือ ข ฆ, ฉ ฌ, ฐ ฒ, ถ ธ, ผ ภ

ETipitaka Pali-Thai Dict : ฒา, 5 found, display 1-5
  1. : (ปุ.) ศัพท์, เสียง, งู. ฒิ มุยฺห, อ.
  2. พุฑฺฒ : (วิ.) แก่, เฒ่า (ผู้สูงอายุ) วฑฺฒฺ วฑฺฒฺเน, อ. อภิฯ ลง ต ปัจ. แปลงเป็น ฒ แปลงที่สุดธาตุ เป็น ฑ ลบ ฑฺ สังโยค แปลง ว เป็น พ อ เป็น อุ.
  3. เถร : (วิ.) แก่, เฒ่า, มั่น, คง, มั่นคง, ใหญ่, อ้วน.
  4. คุฒจาร : (ปุ.) คนสอดแนม, จารบุรุษ. คุฒ มาจาก คุหฺ สํวรเณ. ฒ ปัจ. ลบที่สุดธาตุ.
  5. ทาฒา : (อิต.) เขี้ยว, งา , งาช้าง. ทํส ธาตุ ฒ ปัจ. ส. ทาฒา.

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : ฒา, not found

(0.1581 sec)