Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ดัง , then ดง, ดัง, ตํ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ดัง, 248 found, display 1-50
  1. สีหปญฺชร : (นปุ.) หน้าต่างมีสันฐานดังกรงแห่ง สีหะ, หน้าต่าง, ช่องลม, สีหบัญชร. วิ. สีหรูปยุตฺตํ ปญฺชรํ สีหปญฺชรํ.
  2. กปฺปรุกฺข : (ปุ.) ต้นไม้อันยังความปรารถนา ให้สำเร็จ, ต้นไม้อันยังประโยชน์ให้สำเร็จ ดังใจนึก (ปรารถนา), ต้นไม้อันตั้งอยู่ตลอดกัป, ทิพยพฤกษ์, ต้นกัลปพฤกษ์ ชื่อ ต้นไม้ชนิดหนึ่ง จำพวกคูน หรือราชพฤกษ์ ดอกสีชมพู.
  3. กมฺมธารย : (วิ.) (สมาส) อันทรงไว้ซึ่งกรรม, อันทรงไว้ซึ่งของสองสิ่งเพียงดังกรรม. วิ. กมฺมมิว ทฺวยํ ธารยตีติ กมฺมธารโย.
  4. กล : (ปุ.) เสียงไม่ชัด (แต่เป็นที่ชอบใจ), เสียงอ่อน, เสียงวังเวง, เสียงดังวังเวง (ดนตรี). กลฺ สทฺเท กลิเล วา, อ. อภิฯ เป็น ไตรลิงค์. ส. กล.
  5. กิณกิณายติ, กิณิกิณายติ, กึกิณายติ, : ก. ดังกริ๋งๆ, ดังกรุ๋งกริ๋ง
  6. กิณิ : ป. เสียงดังกริ๋งๆ
  7. กิร : (อัพ. นิบาต) ได้ยินว่า, ดังได้สดับมา, ทราบว่า, ได้ทราบว่า, นัยว่า, ข่าวว่า. เป็น อนุสสวนัตถะ. ไม่ชอบใจ. เป็น อรุจิยัตถะ.
  8. กิลิ : ๑. อ. “ดังกิลิๆ” , ๒. อิต. เสียงที่ดัง ‘กิลิๆ’
  9. กีจก : (ปุ.) ไม้ไผ่อันลมถูกต้องแล้วย่อมบันลือ เสียง, ไม้ไผ่เหล่าใดโยคไหวด้วยลมย่อม บันลือเสียง เพราะมีรูอันสัตว์มีหนอน เป็นต้นทำแล้ว ไม้ไผ่เหล่านั้น ชื่อ กีจกะ วิ. อนิเลน ปกมฺปิตา เย เวณู กีฏาทีหิ กตรนฺธตาย นทนฺติ เต กีจกา. จกิ อามสเน, ณฺวุ, พฺยญฺชนานํ วิปริยาโย (เปลี่ยนพยัญชนะคือเอา ก ไว้หน้า จ). เป็น กิจก บ้าง. ส. กีจก ไม้ไผ่สีกันดัง ออดแอด.
  10. กุมุทวณฺณ : ค. มีวรรณะดังดอกโกมุท, มีผิวพรรณเหมือนดอกบุณฑริก, มีสีเหมือนดอกบัวขาว
  11. กุรุวินฺท : (ปุ.) พลอยแดง, ทับทิม. กุรุวินฺทสุตฺติ ก้อน-จุรณ์หินสีดังพลอยแดง.
  12. กุลฺลกสณฺฐาน : ค. มีสัณฐานดังพ่วงแพรูปร่างเหมือนแพ
  13. กุฬีรปาท : (ปุ.) เตียงมีขาดังปู, เตียงมีขา ดังก้ามปู.
  14. เกตุกมฺยตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้ใคร่ ดังธงนำหน้า, ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีจิต ใคร่ดังธงนำหน้า, ความเป็นผู้มีจิตใคร่ดัง ธงนำหน้า.
  15. โกณฑญฺญ : (ปุ.) โกณฑัญญะ ชื่อหัวหน้า เบญจวรรคีย์ผู้ไปเฝ้าปฏิบัติพระมหาบุรุษ ขณะทรงบำเพ็ญทุกกรกิริยา เมื่อพระมหาบุรุษตรัสรู้แล้ว ได้ฟังปฐมเทสนา ได้สำเร็จเป็นพระอริยบุคคลเป็นองค์แรก วิ. กุณฺฑนิยา อปจฺจํ โกณฺฑญฺโญ. กุณฺฑนิยา วา ปุตฺโต โกณฺฑญฺโญ. ณฺยปัจ. ลบ อี ที่ นี เหลือเป็น นฺ ลบ ณฺ รวมเป็น นยฺ แปลง นฺย เป็น ญ ซ้อน ญฺ หรือแปลง นฺย เป็น ญฺญ พฤทธิ์ อุ เป็น โอ หรือ รัสสะ อี เป็น อิ แล้วลบ อิ ลบ ณฺ เหลือเป็น นฺย แล้ว แปลงดังกล่าวแล้ว รูปฯ ๓๕๔-๕.
  16. ขจร : (วิ.) ไปในอากาศ, ฯลฯ. ขจร(ขะจอน) กำจร ไทยใช้เป็นคำกิริยาในความว่า ฟุ้งไป กระจายไป ระบือไป ดังไป.
  17. ขีรณฺณว : (ปุ.) ห้วงแห่งน้ำนม, ห้วงน้ำมีสีเพียง ดังสีน้ำนม วิ. ขีรวณฺโณ อณฺณโว ขีรณฺณโว. ทะเลใหญ่ มีชื่อ ๗ ชื่อ คือ ขีรณฺณว ลวโณท ทธฺยูท ฆโตท อุจฺฉุภิสท มทิโรท สาทูทก เป็น ปุ. ทุกศัพท์.
  18. คฬคฬายติ : ก. ประพฤติดังคละคละ, ทำเสียงคละคละ, แผดเสียง, คำราม
  19. เคยฺย : (นปุ.) คำอันบุคคลพึงขับ, คำเพียงดัง เพลงอันบุคคลพึงขับ, พระพุทธพจน์อัน ควรขับ, เคยยะ ชื่อองค์ที่ ๒ ใน ๙ ของ นวังคสัตถุสาสน์ ได้แก่พระสูตรมีคาถา แต่งเป็นร้อยแก้วบ้างร้อยกรองบ้าง. คา สทฺเท, ณฺย. แปลง โณฺย กับ อา เป็น เอยฺย รูปฯ ๕๔๐. อีกนัยหนึ่งลบ ณฺ แล้วแปลง ย กับ อา เป็น เอยฺย.
  20. จกฺขุภูต : (วิ.) (พระพุทธเจ้า) ทรงเป็นเพียงดัง จักษุเป็นแล้วเพราะบรรลุพระปรมัตถธรรม วิ. จกฺขุ อิว ภูโต อยํ ปรมตฺถทสฺสนโตติ จกฺขุภูโต เป็นปฐมอุปมานบุพพบทพหุพ. รูปฯ ๓๔๑.
  21. จปุจปุการก : อ. ทำเสียงดังจุ๊บๆ จั๊บๆ (ขณะกินหรือดื่ม)
  22. จิจฺจิฏายติ : ก. ประพฤติเสียงดังฉี่ๆ ฉ่าๆ (เหมือนเสียงก้อนเหล็กเผาไฟที่จุ่มลงในน้ำ), เดือดพล่าน
  23. จิจฺจิฏายน : นป. การทำเสียงดังฉี่ๆ ฉ่าๆ
  24. จิฏิ-จิฏิ : อ. เสียงดังจิฏิๆ
  25. จินฺตามณี : (ปุ.) แก้วที่เกิดขึ้นตามใจนึก, จิน- ดามณี. ไทยใช้คำ จินดามณี ในความหมาย ว่า แก้วอันผลแก่เจ้าของดังใจนึก แก้วสาร- พัดนึก คือนึกอย่างไรได้อย่างนั้น อีกอย่าง หนึ่งเป็นชื่อของหนังสือแบบเรียนของไทย เล่มแรกแต่งในยุดกรุงศรีอยุธยา.
  26. ฉทฺทนฺต : (ปุ.) ฉัททันต์ ชื่อตระกูลช้างตระกูล ที่ ๑๐ ใน ๑๐ ตระกูล มีกายบริสุทธิ์ดังเงิน ยวง ปากและเท้าสีแดง. คัมภีร์ทางพม่า และฎีกาอภิฯ เป็น นปุ.
  27. ชนฺตุ : (ปุ.) สัตว์, สัตว์เกิด. วิ. ชายตีติ ชนฺตุ. ชนียเต กมฺมกิเลเสหีติ วา ชนฺตุ. ชายติ วา กมฺมกิเลเสหีติ ชนฺตุ. อรรถกถากุลาวก ชาดก ว่า ชนฺตูติ สตฺโต แปลว่า บุคคล คนดังคำในมหาฎีกามหาสุตตโสมชาดก ว่า ชนฺตูติ ปุคฺคโล.
  28. ชาลินี : (อิต.) ตัณหา. ตัณหามีข่าย, ตัณหาเพียง ดังข่าย. วิ. สํสารโต นิสฺสริตํ อปฺปทาน- วเสน ชาลสทิสตฺตา ชาลินี. ชาลศัพท์ อินี ปัจ ลงใน อุปมา.
  29. ฌงฺการ : ป. เสียงดังหึ่งๆ เหมือนเสียงผึ้ง
  30. ญาติสาโลหิต : (ปุ.) พี่น้องผู้เกี่ยวเนื่องกันด้วย เลือด, พี่น้องผู้เกี่ยวเนื่องกันด้วยสายเลือด, พี่น้องผู้ร่วมสายเลือด, ญาติสาโลหิต, ญาติสายโลหิต ( ญาติที่ลืมสกุลมาโดยตรง ญาติสายโลหิตเดียวกัน ). คำ ญาติ ทาง ศาสนาหมายถึงคนที่ไม่ใช่สายเลือดเดียว กัน ก็ได้ ดังบาลีว่า วิสฺสาสาปรมา ญาติ ความคุ้นเคยชื่อว่าเป็นญาติอย่างยิ่ง. (ญาติ สนิท).
  31. ตถาวิธ : ค. เหมือนอย่างนั้น, เช่นนั้น, ดังนั้น, อย่างนั้น
  32. ตทงฺคนิพพาน : (นปุ.) ความดับด้วยองค์นั้น ๆ โดยฌานมีปฐมฌานเป็นต้น อัฏฐกถาให้ วิ. ว่า ปฐมฌานาทินา เตน เตน องฺเคน นิพพานํ ตทงฺคนิพพานํ. ตทงฺคนิพพาน ศัพท์นี้มีในไตร. ๒๓ ข้อที่ ๕0 สูตรที่ ๙ แห่งปญจาลวรรค. ไม่ควรแปลว่า นิพพาน ชั่วขณะ ดังที่อาจารย์บางท่านแปล ควร แปลว่า ความดับด้วยองค์นั้น ๆ โดยฌาน มี ปฐมฌาน เป็นต้น ตามที่อัฏฐกถาจารย์ ตั้ง วิ. ไว้ เพราะว่า “นิพพาน” นับเป็น ๑ ในโลกุตตรธรรม ๙ ไตร. ๓๑ ข้อ ๖๒0 และชาวพุทธฝ่ายเถรวาท ใช้คำ นิพพาน เป็นชื่อของจิตที่ดับกิเลสเป็นสมุจเฉทป – หานด้วยอริยมรรคที่ ๔ เป็นอกุปปา – วิมุตติอย่างเดียว เพราะฉะนั้น นิพพาน ชั่วขณะจึงไม่มี ขอฝากนักปราชญ์รุ่นหลัง ผู้หวงแหนพระพุทธศาสนาด้วย.
  33. ตาทิส ตาทิกฺข ตาริส ตาที : (วิ.) ผู้เช่นนั้น, ผู้คงที่. วิ. ต มิว นํ ปสฺสตีติ ตาทิโส (เห็น ซึ่งบุคคลนั้นดังว่าบุคคลนั้น ). โ ส วิย ทิสฺสตีติ ตาทิโส ( เห็นราวกะว่าคนนั้น ). ต+ทิสฺ+กฺวิ ปัจ. แปลงที่สุดธาตุเป็น ส กฺข อี ทีฆะ อ ที่ ต เป็น อา ศัพท์ที่ ๓ แปลง ทฺ เป็น รฺ รูปฯ ๕๗๒ ส่วนโมคฯ สมาส กัณฑ์๘๘ ตั้ง ตุมฺห เป็นบทหน้า แปลว่า ผู้เช่นนบทหน้า ท่าน วิ. ตฺวมิว ทิสฺสตีติ ตาทิโส ตาทิกฺโข วา ตาริโส วา ตาที วา (เห็นราวกะว่าท่าน). แปลง ตฺวํ เป็น ตา.
  34. ตาร : (วิ.) ร้องดัง, ร้องดังก้อง, ร้องกึกก้อง.
  35. ติตฺถิย : (ปุ.) ชนมีลัทธิดังท่าเป็นที่ข้าม, นิครนถ์ผู้มีลัทธิดังท่าเป็นที่ข้าม, เดียรถีย์ (นักบวชนอกพุทธศาสนา คนถือลัทธินอก พุทธศาสนา).
  36. ตุณฺห : (วิ.) นิ่ง ( เฉย เงียบ ไม่กระดุกกระดิก ไม่เคลื่อนไหว). ตุหฺอทฺทเน,โณฺห,หโลโป. อทฺทน แปลว่า เบียดเบียน ทำอันตราย ในที่นี้หมายความว่า เบียดเบียนความดัง หรือความเคลื่อนไหว.
  37. ททฺทภ, - ธภ : ป., นป. เสียงดังทัททะภะ, เสียงดังสนั่น, เสียงดังกึกก้อง, เสียงของหนักหล่นหรือล้ม
  38. ทิสาปาโมกข : (ปุ.) อาจารย์ผู้เป็นหัวหน้าใน ทิศท., อาจารย์ผู้เป็นประธานในทิศ ท., ทิศาปาโมกข์ (อาจารย์ผู้มีเสียงโด่งดัง).
  39. ทิสาปาโมกฺข : ค. (อาจารย์) ผู้เป็นใหญ่ในทิศ, ผู้มีชื่อเสียงโด่งดังทั่วทุกทิศ
  40. ทูรฆุฏฺฐ : ค. ซึ่งกึกก้องไปไกล, ซึ่งเล่าลือไปไกล, ซึ่งกระฉ่อนไปไกล, ซึ่งมีชื่อเสียงโด่งดัง
  41. ธมฺมจกฺก : (นปุ.) ธรรมเพียงดังจักร, ล้อคือ ธรรม, ลูกล้อคือธรรม , ธรรมจักร. เรียก พระธรรมเทศนา ซึ่งพระพุทธเจ้าเทศน์ ครั้งแรกว่า พระธรรมจักร เป็นคำเรียก แบบย่อ.
  42. ธมฺมภูต : (วิ.) ผู้เป็นเพียงดังเหตุ วิ. ธมฺโม อิว ภูโตติ ธมฺมภูโต. ธมฺโม อิว ภูโต อยนฺติ ธมฺมภูโต, ปฐมาอุปมาบุพ. พหุพ.
  43. ธมฺมภูติ : (อิต.) ความเป็นเพียงดังเหตุ, ความรุ่งเรืองด้วยธรรม, ฯลฯ.
  44. นราสภ : (ปุ.) นระผู้ประเสริฐ์, นระผู้สูงสุด, วิ. นโร อาสโภ นราสโภ. นระเพียงดังโคผู้ วิ. นโร อาสโภ อิว นราสโภ.
  45. นาคพล : นป., ค. กำลังแห่งช้าง; มีกำลังเท่ากับช้าง, มีกำลังเพียงดังกำลังแห่งช้าง
  46. นิกฺกสาว : (วิ.) มีรสฝาดออกแล้ว, ไม่มีน้ำฝาด คือราคะ, มีกิเลสเพียงดังน้ำฝาดออกแล้ว, ออกแล้วจากกิเลสเพียงดังน้ำฝาด. วิ. ดู นิกฺกาม เทียบ.
  47. ปชคฺฆติ : ก. หัวเราะดัง
  48. ปตฺติยายติ : ก. ประพฤติเพียงดังว่าเชื่อ, เชื่อถือ, ไว้ใจ
  49. ปน : (อัพ. นิบาต) บางที, บางคราว, ก็, แต่, ก็ แต่ว่า, ฝ่ายว่า, ส่วน, ส่วนว่า, ถึงอย่างนั้น, ถึงกระนั้น, ถึงดังนั้น, อนึ่งโสด, ด้วยแท้, เหมือนอย่างว่า, สำหรับ, แล, เล่า.
  50. ปสิฏฺฐ : ค. ปรากฏ, มีชื่อเสียงโด่งดัง
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-248

(0.0279 sec)