Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ดัน , then ดน, ดัน, ตนฺ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ดัน, 49 found, display 1-49
  1. ปนุทติ : ก. บรรเทา, ไล่, ขับออก, ดัน, ละ
  2. พฺยปคต : ค. จากไป, ไล่ไป, ดันถอยไป
  3. อปนุทติ : ค. บรรเทา, ผลักดัน, ไล่ออก
  4. ตนฺติ : (อิต.) พระพุทธวจนะ, พระบาลี. วิ. ตนียติ วิตฺถารียตีติ ตนฺติ. ตนุ วิตฺถาเร, ติ. รูปฯ และอภิฯ.
  5. ตนฺตุ : (ปุ.) ด้าย, เส้นด้าย. อภิฯ วิ. ตญฺญเตติ ตนฺตุ. รูปฯ ๖๖๕ วิ. ตโนตีติ ตนฺตุ. ตนุ วิตฺถาเร, ตุ.
  6. ตนฺที : (อิต.) ความหลับ, ฯลฯ อิ ปัจ. เป็น ตนฺทีบ้าง.
  7. ตนฺตก : นป. การทอหูก, การทอผ้า
  8. ตนฺตากุลกชาต : ค. ซึ่งผูกพันกันยุ่งเหมือนกลุ่มด้าย
  9. ตนฺติธร : ค. ผู้รักษาประเพณี
  10. ตนฺติภาสา : (อิต.) ภาษันแบบแผน, ถาษาที่มี แบบแผน. เช่น ภาษามคธ สันสกฤต และละติน.
  11. ตนฺติสฺสร : ป. เสียงพิณ
  12. ตนฺตุนาค : (ปุ.) เมล็ดผักกาด, เมล็ดพันธุ์ผัก กาด, ปลีน่อง (กล้ามเนื้อที่มีลักษณะคล้าย หัวปลีอยู่ด้านหลังของหน้าแข้ง).
  13. ตนฺตุวาย : (ปุ.) ฟืม (เครื่องสำหรับทอผ้ามีฟัน เป็นซี่ ๆ คล้ายหวี) แมงมุม (สัตว์ไม่มีกระ ดูกสันหลังมร ๘ ขา ที่ก้นมีใยสำหรับชัก ขึงเป็นข่ายดักสัตว์)
  14. ตนฺตุสาร : (ปุ.) ต้นหมาก.
  15. ตนฺทน : (นปุ.) ความหลับ, ความง่วง, ความง่วงเหงา, ความง่วงโงก, ความคร้าน, ความเกียจคร้าน, ความประมาท. ตนฺทฺ อาลสิเย, ยุ.
  16. ตนฺทิต : ค. เมื่อย, เฉื่อยชา, ขี้เกียจ
  17. สุตฺตนฺติก : (วิ.) ผู้เรียนพระสูตร, ผู้รู้พระสูตร. วิ. สุตฺตนฺตํ อธิเตติ สุตฺตนฺติโก. ณิก ปัจ. ตรัตยทิตัท.
  18. กุลตนฺติ : อิต. แบบแผนประจำตระกูล, ประเพณีแห่งตระกูล
  19. หตนฺตราย : (วิ.) ผู้มีอันตรายอันขจัดแล้ว.
  20. อตนฺทิต : (วิ.) ไม่เกียจคร้าน, ขยัน.
  21. อตนฺทิต, อตนฺที : ค. ไม่เกียจคร้าน
  22. กมฺมช : (วิ.) เกิดแต่กรรม วิ. กมฺมโต ชาโตติ กมฺมโช (วิปาโก). กมฺมโต ชาตาติ กมฺมชา (ปฏิสนฺธิ). กมฺมโต ชาตนฺติ มฺมชํ (รูปํ). ชนฺ ชนเน, กฺวิ, นฺโลโป. กมฺมโต ชาโต กมฺมโช. ต. ตัป., ปญ จ. ตัป.
  23. เกวฏฺฏ เกวตฺต : (ปุ.) คนผู้วนไปในน้ำเพื่ออัน จับซึ่งปลาเป็นต้น, ชาวประมง. วิ. เก อุทเก วฏฺฏนฺติ วตฺตนฺติ วา มจฺฉาทิคฺคหณตฺถํ อุมฺมุชฺชนนิมุชฺชนวเสน ปวตฺตนฺตีติ เกวฏฺฏา เกวตฺตา วา. เก อุทเก มจฺฉาทีนํ คหณตฺถาย วฏฺฏติ วตฺตติ วาติ เกวฏฺโฏ เกวตฺโต วา. กปุพฺโพ, วฏฺฏฺ วตฺตฺ วา วตฺตเน, อ. ไม่ลบ วิภัติบทหน้า.
  24. โกลวลฺลี : (อิต.) ดีปลีใหญ่, ช้าพลู. วิ.โกลาการา ตนฺนามิกา วา วลฺลี โกลวลฺลี.
  25. โคสีส : (นปุ.) จันทร์เหลือง, จันทร์เทศ (เย็นเหมือนน้ำ). วิ. โคสีสากติปพฺพเต มลเยกเทเส ชาตํ โคสีสํ. โค วิย ชลํ วิย สีตนฺติ โคสีสํ ตสฺส โส.
  26. จีวรปารุปน : (นปุ.) ที่เป็นที่ห่มซึ่งจีวร วิ. จีวรํ ปารุปตนฺติ เอตฺถาติ จีวรปารุปนํ.
  27. จูฬิกา : (อิต.) จอนหู, โคนหูช้าง. วิ. โจเทติ เอตฺถ อํกุสาทีหิ อทนฺตนฺติ จูฬิกา. จุทฺ สํโจทเน, ณฺวุ, ทสฺส โฬ, อิอาคโม. จูลฺ นิมชฺชเน วา, ณฺวุ, ลสฺส โฬ.
  28. ตนฺตวาย : (ปุ.) ช่างหูก, ช่างทอ. วิ. ตนฺตํ วายตีติ ตนฺตวาโย. ตนฺตปุพฺโพ, เว ตนฺตุสนฺตาเน, โณ. แปลง เอ เป็น อาย. หรือตั้ง อุยิ ตนฺตุสนฺตาเน. แปลง อุ เป็น ว ทีฆะเป็นวา ลบ อิ เหลือเป็น ยู ลบ ณฺ เหลือ อ รวมเป็น ย.
  29. ตล : (นปุ.) ชั้น, ชั้นล่าง,พื้น, ฝ่ามือ. วิ. ตลยติ เอตฺถ วตฺถุชาตนฺติ ตลํ. ตลฺ ปติฏฐายํ, อ.
  30. ตาวตึส : (ปุ.) ดาวดึงส์ ชื่อสวรรค์ชั้นที่ ๒ ใน ๖ ชั้น, พิภพดาวดึงส์, ตรัยตรึงส์, ตรึงส์-ตรัย. วิ. เตตฺตึส ชนา นิพฺพตตนฺติ เอตฺถาติเตตฺตึโส. เตตฺตึโส เอว นิรุตฺตินเยน ตา วตึโส. แปลง เอ เป็น อย ทีฆะ อ ที่ ต เป็นอา แปลง ย เป็น ว หรือ แปลง เต เป็น ตาวลบ ตฺ สังโยค. ตาว ปฐม ตึสติ ปาตุภวตีติตาวตึโส. พื้นแผ่นดินใด เกิดปรากฏขึ้นในโลกเป็นครั้งแรกก่อน ( พื้นแผ่นดินอื่นๆ )พื้นแผ่นดินนั้น ชื่อดาวดึงส์.
  31. ตุณฺณวาย ตุนฺนวาย : (ปุ.) ช่างเย็บ, ช่างชุน. วิ. ตุนฺนํ อวายิ วายติ วายิสฺสตีติ ตุนฺนวาโย. ตุนฺนปุพฺโพ, วา คนฺธเน ( ตัด แทง) , อ. แปลง อา ที่ธาตุเป็น อาย หรือ ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ ก็ไม่ต้องแปลง อา หรือ ตั้ง เว ตนฺตุสนฺตาเน, โณ. แปลง เอ เป็น อาย ศัพท์ต้น แปลง นฺน เป็น ณฺณ.
  32. เตตฺตึส : (วิ.) (ที่) เป็นที่เกิดของเทวดาสาม สิบสององค์ วิ. เตตฺตึส เทวตา นิพฺพตฺตนฺติ เอตฺถาติ เตตฺตึส.
  33. ทร ทรถ : (ปุ.) ความกลัว, ความเจ็บป่วย, ความกระวนกระวาย, ความเร่าร้อน, ทรฺ ภยทาเหสุ, อ, โถ. ทรสทฺโท จ ทรถสทฺโท จ กายทรเถ จิตฺตทรเถ กิเลสทรเถ จ วตฺตนฺติ. อภิฯ.
  34. ผล : (นปุ.) เครื่องหมายบุรุษ, เครื่องหมายสตรี, นิมิตบุรุษ, นิมิตสตรี, อวัยวะสืบพันธุ์ (ของบุรุษ-สตรี). วิ. ผลติ เอเตน ปุตฺตนฺติ ผลํ. ผล. นิปฺผตฺติยํ, อ.
  35. พหุลีกต : (วิ.) อัน...กระทำแล้วให้เป็นไปมาก, กระทำให้มากแล้ว, กระทำแล้วๆ เล่าๆ, กระทำเนืองๆ, กระทำให้มาก. วิ. พหุลํ กตนฺติ พหุลีกตํ. พหุล+กต อี อาคม รูปฯ ๓๒๘. คำอธิบายความหมาย พหุลีกต ดู ไตรฯ๓๑ ข้อ ๕๓๖.
  36. มกฏก มกฺกฏก : (ปุ.) แมงมุม, หนังสือเก่า เป็นแมลงมุม. วิ. มกฺกโฏ วิย สาขายํ อตฺตโน ตนฺตุมฺหิ คจฺฉตีติ มกฺกฏโก. ก ปัจ.
  37. สิพฺพก : (ปุ.) ช่างเย็บ. สิวฺ ตนฺตุสนฺตาเน, ณฺวุ. ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ แปลง วฺย เป็น พฺพฺ.
  38. สีหปฺปปาต : (ปุ.) สีหัปปปาตะ ชื่อสระใหญ่ สระ ๑ ใน ๗ สระ วิ. สีหา ปปตนฺติ อสฺมินฺติ สีหปฺปปาโต. สีห ป ปุพฺโพ, ปตฺ ปตเณ, โณ.
  39. หาริ หารี : (วิ.) งาม, งดงาม, น่าดู, น่ารัก, ดีนัก, เป็นที่ชอบใจ. วิ. หรติ จิตฺตนฺติ หาริ หารี วา. หรฺ หรเณ, อิณฺ, ณี วา. ส. หาริ.
  40. เหติ : (อิต.) ศัตรา, อาวุธ, ศัตราวุธ, เครื่องรบ, ขอ, หอก, หลาว. วิ. หรติ ชีวิตนฺติ เหตุ. หรฺ หรเณ, ติ, อสฺเส, รฺโลโป.
  41. อจฺฉริยอจฺฉิริยอจฺเฉร : (นปุ.) เหตุควร, เพื่ออันปรบซึ่งมือ, เหตุน่าอัศจรรย์, ความอัศจรรย์.วิ. อจฺฉรํปหริตุยุตฺตนฺติอจฺฉริยํ. อาปุพฺโพ, จรฺ จรณคตีสุ, กฺวิ.กัจฯ ๖๓๙ อาเทส จรฺเป็นจฺฉรจฺฉริยและ จฺเฉร รัสฺสะอา บทหน้าเป็นอ
  42. อจฺฉริย อจฺฉิริย อจฺเฉร : (นปุ.) เหตุควร, เพื่ออันปรบซึ่งมือ, เหตุน่าอัศจรรย์, ความอัศจรรย์. วิ. อจฺฉรํ ปหริตํ ยุตฺตนฺติ อจฺฉริยํ. อาปุพฺโพ, จรฺ จรณคตีสุ, กฺวิ. กัจฯ ๖๓๙ อาเทส จรฺ เป็น จฺฉร จฺฉริย และ จฺเฉร รัสฺสะ อา บทหน้าเป็น อ.
  43. อนุกมฺปา : (อิต.) ความไหวตาม, ฯลฯ.วิ.อนุปุนปฺปุนํกมฺเปติอตฺตาธารสฺสจิตฺตนฺติอนุกมฺปา.อนุปุพฺโพ, กมฺปฺ จลเน, อ, อิตฺถิ-ยํอา.ส.อนุกมฺปา.
  44. อปาน : (นปุ.) ลมหายใจเข้าวิ.อสฺสาสสํขาต-อานโตอปคตนฺติอปานํ.อปปุพฺโพ, อนฺปาณเน, อ.แปลว่าลมหายใจออกก็มี.
  45. อุณฺณนาภิ : (ปุ.) แมงมุม. วิ. อุณฺณามโย ตนฺตุ อุณฺณา, สา นาภิย มสฺส อุณฺณนาภิ. รัสสะ อา ที่ ณา. ส. อูรฺณานาภิ.
  46. อุปการิกา : (อิต.) เชิงเทิน, วิ. สํคมฺม กโรติ ตนฺติ อุปการิกา. อุปปุพฺโพ, กร. กรเณ, ณฺวุ.
  47. อุปนาห : (ปุ.) การผูกเวร, การจองเวร, การผูกโกรธ, ความผูกเวร, ฯลฯ. วิ. ปุนปฺปุนํ อุปคนฺตฺวา. นยฺหติ จิตฺตนฺติ อุปนาโห. อุปปุพฺโพ, นหฺ พนฺธเน, โณ.
  48. อุปสมฺพฺยาน : (นปุ.) ผ้าห่ม. วิ. อุปริ สํวิยฺยเต พาหุเลฺยนาติ อุปสมฺพฺยานํ. อุ ปริ สํ ปุพฺโพ, วิ ตนฺตุสนฺตาเน, ยุ, ลบ ริ.
  49. เอก : (วิ.) หนึ่ง, อย่างหนึ่ง, เดียว, ผู้เดียว, คนเดียว, ไม่มีเพื่อน, โดดเดียว, โดดเดี่ยว, วังเวง, เยี่ยม, ยอด, ยอดเยี่ยม, ประเสริฐ, สูงสุด, นอกนี้, ต่างหาก, เดียวกัน, เช่น เดียวกัน, แนวเดียวกัน, เป็นหนึ่ง, อื่น (คือ อีกคนหนึ่ง อีกพวกหนึ่ง อีกสิ่งหนึ่ง). อิ คมเน, ณฺวุ, อิสฺเส. วิ. เอติ ปวตฺตตีติ เอโก. เอกศัพท์นี้เป็นปกติสังขยาและวิเสสนสัพพ นามที่เป็นสังขยา (การนับ) เป็นเอกวจนะ อย่างเดียวที่เป็นวิเสสนสัพพนาม เป็น เอก. และ พหุ. เมื่อต้องการเป็นพหุ. พึงใช้ เป็นวิเสสนสัพพนาม และแปลว่าคนหนึ่ง, คนเดียว คนเดียวกัน พวกหนึ่ง ฯลฯ พึงยัก เยื้องให้เหมาะสมกับนามนาม. เอกศัพท์ ใช้เป็นวิเสสนะของนามนามใด เวลาแปล พึงเหน็บลักษณนามของนามนั้นลงไปด้วย เช่น เอกา ธมฺมเทสนา อ. ธรรมเทศนา ๑ กัณฑ์. คำว่าไม้เอก (วรรณยุกต์ที่ ๑) มา จากเอกศัพท์นี้. เอกศัพท์ที่นำมาใช้ใน ภาษาไทยมีความหมายว่า ตัวคนเดียว ลำพังตัว โดดเดี่ยว เปลี่ยว เฉพาะ เด่น ดีเลิศ ยิ่งใหญ่ สำคัญ ที่หนึ่ง (ไม่มีสอง). ส. เอก.
  50. [1-49]

(0.0414 sec)