Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ดับ , then ดบ, ดับ, ตปฺ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ดับ, 78 found, display 1-50
  1. ขมฺเภติ : ก. ยัน, ค้ำ, สนับสนุน; ขัดขวาง, ดับ
  2. นิพฺพายติ : ก. เย็น, ดับ, สงบ
  3. ปสมฺมติ : ก. ระงับ, สงบ, ดับ, เหือดแห้ง
  4. กมฺมชรูป กมฺมชฺชรูป : (นปุ.) รูปอันเกิดแต่ กรรม, กัมมชรูป กัมมัชชรูป คือรูปที่ กรรมสร้าง มองด้วยตาเนื้อไม่เห็น เกิด พร้อมกับปฏิสนธิจิต เพราะจิตยังอาศัยรูป นี้อยู่ และเกิดดับเป็นสันตติ จนถึงจุติจิต (มรณสันนวิถี). ส. กรฺมชรูป.
  5. จวติ : ก. จุติ, เคลื่อน, ตาย (จากภพหนึ่งไปเกิดในภพอื่นต่อไป), ดับไป
  6. ชาตินิโรธ : ป. ความดับสูญแห่งการเกิด
  7. ชีวิตปริยาทาน : นป. การดับของชีวิต, การสิ้นสุดชีวิต
  8. ชีวิตสีสี ชีวิตสทสีสี : (วิ.) ผู้มีกิเลสศรีษะสิ้น พร้อมด้วยชีวิต, ผู้มีกิเลสอันเป็นประธาน สิ้นไปพร้อมกับการสิ้นชีวิต, ผู้สิ้นกิเลส อันเป็นประธานพร้อมกับสิ้นชีวิต. กิเลส ที่เป็นประธานคืออวิชา. คำว่าสิ้นกิเลส พร้อมกับสิ้นชีวิตนั้นมิได้หมายความว่า เกิดพร้อมกันในวิถีจิตเดียวกัน อรหัตต – มัคคจิตเกิดประหาณ อวิชชาแล้ว ชีวิติน- ทรีย์ เจตสิกละรูปจึงดับ แม้ว่าจะห่างกัน หลายวิถีจิตก็จริง แต่เมื่อว่าโดยเวลาแล้ว ความดับกิเลสและสิ้นชีวิตก็กล่าวได้ว่าดับ ลงพร้อมกัน เพราะวิถีจิตเป็นไปเร็วมาก.
  9. ตทงฺคนิพพาน : (นปุ.) ความดับด้วยองค์นั้น ๆ โดยฌานมีปฐมฌานเป็นต้น อัฏฐกถาให้ วิ. ว่า ปฐมฌานาทินา เตน เตน องฺเคน นิพพานํ ตทงฺคนิพพานํ. ตทงฺคนิพพาน ศัพท์นี้มีในไตร. ๒๓ ข้อที่ ๕0 สูตรที่ ๙ แห่งปญจาลวรรค. ไม่ควรแปลว่า นิพพาน ชั่วขณะ ดังที่อาจารย์บางท่านแปล ควร แปลว่า ความดับด้วยองค์นั้น ๆ โดยฌาน มี ปฐมฌาน เป็นต้น ตามที่อัฏฐกถาจารย์ ตั้ง วิ. ไว้ เพราะว่า “นิพพาน” นับเป็น ๑ ในโลกุตตรธรรม ๙ ไตร. ๓๑ ข้อ ๖๒0 และชาวพุทธฝ่ายเถรวาท ใช้คำ นิพพาน เป็นชื่อของจิตที่ดับกิเลสเป็นสมุจเฉทป – หานด้วยอริยมรรคที่ ๔ เป็นอกุปปา – วิมุตติอย่างเดียว เพราะฉะนั้น นิพพาน ชั่วขณะจึงไม่มี ขอฝากนักปราชญ์รุ่นหลัง ผู้หวงแหนพระพุทธศาสนาด้วย.
  10. ทุกฺขนิโรธ : (ปุ.) ความดับซึ่งทุกข์, ความดับทุกข์, ทุกขนิโรธ ชื่ออริยสัจ ๔ ข้อที่ ๓.
  11. ทุกฺขนิโรธคามินี : ค. (ปฏิปทา) ซึ่งยังผู้ปฏิบัติให้ถึงซึ่งความดับแห่งทุกข์
  12. ทุกฺขนิโรธคามินีปฏิปทา : (อิต.) ปฏิปทาอัน ยังผู้ปฏิบัติให้ถึงซึ่งความดับทุกข์, ทางดำเนินอันยังสัตว์ให้ถึงความดับทุกข์, ข้อปฏิบัติอันยังผู้ปฏิบัติให้ถึงความดับทุกข์, ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา ชื่ออริยสัจ ๔ ข้อที่ ๔.
  13. นิชฺชาเลติ : ก. ให้ดับ, ดับไฟ
  14. นิพฺพาณ : นป. พระนิพพาน, การดับ, การทำลาย, ความสงบเย็น
  15. นิพฺพาณ นิพฺพาน : (นปุ.) ธรรมอันออกแล้ว จากตัณหา, ธรรมอันออกแล้วจากตัณหา เครื่องร้อยรัด, ธรรมอันออกไปแล้วจาก ตัณหาเครื่องร้อยรัด. วิ. วาฯโต วานโต วา นิกฺขนฺตํ นิพฺพาณํ นิพฺพานํ วา. รูปฯ วิ. วานโต นิกฺขนฺตํ นิพฺพานํ. ลบ กฺขนฺต แล้วกลับบทหน้าไว้หลัง แปลง ว เป็น พ ซ้อน พฺ ความออกจากตัณหา, ความออกไปจากตัณหา, ฯลฯ. วิ. วาณโต วานโต วา นิกฺขมนํ นิพฺพาณํ นิพฺพานํ วา. ธรรมออกแล้วจากวานะ, จิตออกแล้วจาก วานะ. วิ. นิกฺขนตํ วานโต นิพฺพานํ. นตฺถิ วา เอตฺถ วานํ นิพฺพานํ อัฏฐกถาปรมัตถ- ทีปนี. ความสงบ ความดับ ความดับสนิท (ของจิต). นิปุพฺโพ, วา อุปสเม, ยุ. ธรรม ปราศจากเครื่องรัอยรัด, จิตปราศจาก เครื่องร้อยรัด. นิปพฺโพ, วิ สํสิพฺพเน, ยุ. ความดับด้วยอันสำรอกโดยไม่เหลือ เพราะสิ้นตัณหาโดยประการทั้งปวง, ความดับสนิทจากกิเลสและกองทุกข์, แดนอันปราศจากสังขาร (เครื่องปรุงแต่ง), นิพพาณ, นิพพาน, พระนิพพาณ, พระ นิพพาน. วิ. นิพฺพายนนฺติ อริยชนา เอตสฺมินฺติ นิพฺพานํ. นิพฺพายนฺติ สพฺเพ วฏฺฏทุกฺขนสนฺตาปา เอตสฺมินฺติ วา นิพฺพานํ. ส. นิรฺวาณ.
  16. นิพฺพาติ : ก. พัด, ทำให้เย็น, ทำให้หมดความเร่าร้อน, ดับกิเลส, ดับทุกข์
  17. นิพฺพาตุ : อ. ความเย็น, ความดับ, เพื่อดับ
  18. นิพฺพาปน : (วิ.) อันยัง...ให้ดับ. นิ+วา+ ณาเป, ยุ.
  19. นิพฺพาปิต : ค. อันทำให้เย็น, อันทำให้ดับสนิทแล้ว
  20. นิพฺพาเปติ : ก. ทำให้เย็น, ทำให้ดับ, ทำให้บริสุทธิ์
  21. นิพฺพายิตุ : อ. ความเย็น, ความดับ; เพื่อดับ
  22. นิพฺพุต : ค. ซึ่งดับ, เย็น, สงบ; อันปราศจากความอยาก, เงียบ; สุข, สบาย
  23. นิพฺพุติ : (อิต.) นิพพุติ ชื่อของพระนิพพาน, พระนิพพาน คือการออกจากวุติคือตัณหา วิ. วติโต นิกฺขมนํ นิพฺพติ. ความดับ, ความเย็น. นิปุพฺโพ, วุ อุปสเม, ติ.
  24. นิรุชฺฌติ : ก. ดับ, ละลาย, หมดไป, อันตรธาน
  25. นิรุทฺธ : ค. ซึ่งดับ, ซึ่งทำลาย, ซึ่งหมดไป, ซึ่งอันตรธานแล้ว
  26. นิโรธธมฺม : (วิ.) มีความดับเป็นธรรมดา.
  27. นิโรธธาตุ : อิต. นิโรธธาตุ, ความดับ
  28. นิโรธสญฺญา : อิต. นิโรธสัญญา, ความสำคัญในการดับ
  29. นิโรธสมาปตฺติ : (อิต.) การเข้าสู่นิโรธ (เป็น วิธีพักผ่อนของท่านผู้ได้ฌาน.) นิโรธ ในคำนี้ได้แก่การดับสัญญาและเวทนา.
  30. นิโรธิก : ค. ซึ่งดับ, ซึ่งทำลาย
  31. นิโรเธติ : ก. ดับ, ทำลาย, หมดสิ้น, กดขี่, กั้น
  32. ปรินิพฺพาติ : ก. ดับสนิท
  33. ปรินิพฺพาน : (นปุ.) ความดับสนิท, ปรินิพพาน ศัพท์นี้ส่วนมากใช้เป็นคุณบทของ พระพุทธเจ้า.
  34. ปรินิพฺพายิ : ก. ดับรอบแล้ว
  35. ปรินิพฺพายี : ค. ผู้ดับ, ผู้ประสพความหลุดพ้น
  36. ปรินิพฺพุต : กิต. ดับสนิทแล้ว
  37. ภวงฺคจิตตฺ : (นปุ.) จิตเป็นองค์แห่งภพ, จิตตกลงสู่กระแสภวังค์, จิตเป็นภวังค์, ภวังคจิต คือ จิตตกลงสู่กระแสภวังค์ เป็นอยู่โดยไม่รู้สึกตัว สืบต่อไว้ซึ่งภพ บังเกิดติดต่อกันดุจกระแสน้ำไหล ทำหน้าที่รักษาภพชาติให้ดำรงอยู่ อีกบรรยายหนึ่งจิตที่เกิดต่อจากปฏิสนธิ จิตทำหน้าที่รักษาภพชาติให้ดำรงอยู่เท่าที่อายุของสังขารจะอยู่ได้ในภพที่ปฏิสนธิ (เกิด) นั้น เกิดดับโดยไม่ขาดสายจนกว่าจะถึงจุติจิต (ตาย) จิตนั้นจะขาดจากภวังค์เมื่อขึ้นสู่วิถีรับอารมณ์ทางทวารทั้ง ๖ ก็ขาดจากภวังค์ เมื่อรับอารมณ์แล้ว จิตก็ตกกระแสภวังค์ต่อไป วนอยู่อย่างนี้.
  38. มาฆบูชา : (อิต.) การบูชาในวันเพ็ญเดือน ๓, การบูชาด้วยปรารภเหตุสำคัญของพุทธศาสนาซึ่งเกิดขึ้นในวันเพ็ญเดือนมาฆะ ถ้าปีใดมีอธิกมาสจะเลื่อนไปทำการบูชาเพ็ญกลางเดือน ๔ วันมาฆบูชามีความสำคัญ ดังนี้ – ๑.  เพราะตรงกับวันจาตุรงคสันนิบาต (ดูคำจตุรงฺคสนฺนิปาต ด้วย). พระพุทธเจ้าทรงแสดงโอวาทปาติโมกข์ภายหลังจากตรัสรู้ได้ ๙ เดือน และ ๒. เพราะตรงกับวันปลงพระชนมายุสังขารในพรรรษาสุดท้าย ก่อนเสด็จดับขันธปรินิพพาน ๓ เดือน.วันมาฆบูชา เป็นวันพระสงฆ์.
  39. สอุปาทิเสส : ค. ซึ่งดับกิเลสแต่ยังมีชีวิตอยู่
  40. อฏฺฐงฺคม : (ปุ.) การถึงซึ่งอันตั้งอยู่ไม่ได้, ความถึงซึ่งอันตั้งอยู่ไม่ได้, ความดับไป, ความดับสูญ, ความดับสูญ.
  41. อฏฺฐงฺคม : (ปุ.) การถึงซึ่งอันตั้งอยู่ไม่ได้, ความถึงซึ่งอันตั้งอยู่ไม่ได้, ความดับไป, ความดับสูญ, ความดับสูญ.
  42. อฏฺฐงฺคมน : (นปุ.) การถึงซึ่งอันตั้งอยู่ไม่ได้, ความถึงซึ่งอันตั้งอยู่ไม่ได้, ความดับไป, ความดับสูญ, ความดับสูญ.
  43. อฏฺฐงฺคมน : (นปุ.) การถึงซึ่งอันตั้งอยู่ไม่ได้, ความถึงซึ่งอันตั้งอยู่ไม่ได้, ความดับไป, ความดับสูญ, ความดับสูญ.
  44. อนุปาทานปรินิพฺพาน : (นปุ.) อนุปาทานปรินิพพาน คือการดับกิเลสไม่มีเชื้อเหลือ.
  45. อนุปาทิเสส : (วิ.) ไม่มีอุปาทิเป็นส่วนเหลือหมายความว่าไม่มีเบญจขันธ์เหลืออยู่คือเบญจขันธ์ดับไปแล้ว.
  46. อนุปุพฺพนิโรธ : (ปุ.) ความดับโดยลำดับ.
  47. อพฺโพหาริก : (วิ.) อันเป็นอัพโพหาริกคือ ไม่ควรนับว่าผิดวินัยหรือกฏหมาย ในเพราะการกระทำบางกรณีเช่นคนที่รับประทานแกงซึ่งผสมเหล้านิดหน่อยเพื่อดับกลิ่นหรือชูรสการกินเหล้าในกรณีเช่นนี้จัดเป็นอัพโพหาริกไม่นับว่ากินเหล้าศีลไม่ขาด.
  48. อภิสญฺญานิโรธ : ป. การดับสัญญา
  49. อมาวสีอมาวาสี : (อิต.) ดิถีมีพระอาทิตย์และพระจันทร์อยู่ร่วมกัน, ดิถีดับ, วันดับคือวันสิ้นเดือนทางจันทรคติ.วิ. อมาสหวสนฺติรวิจนฺทายสฺสํสาอมาวสี.อมาปุพฺโพ, วสฺนิวาเส, ณี.ศัพท์ต้นไม่มีทีฆะ.
  50. อมาวสี อมาวาสี : (อิต.) ดิถีมีพระอาทิตย์และ พระจันทร์อยู่ร่วมกัน, ดิถีดับ, วันดับคือวัน สิ้นเดือนทางจันทรคติ. วิ. อมา สห วสนฺติ รวิจนฺทา ยสฺสํ สา อมาวสี. อมาปุพฺโพ, วสฺ นิวาเส, ณี. ศัพท์ต้นไม่มีทีฆะ.
  51. [1-50] | 51-78

(0.0227 sec)