Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ดาบ , then ดาบ, ดาป, ตาป .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ดาบ, 62 found, display 1-50
  1. ขคฺค : (ปุ.) กระบี่, ดาบ, พระขรรค์ ชื่อศัตราวุธ ชนิดหนึ่ง มีคมสองข้าง กลางของความกว้างนูน ปลายแหลม, พระขรรค์ชัยศรี. คำชัยศรีเป็นคำใช้ประกอบชื่อของสิ่งต่างๆ ที่ถือว่าเป็นมงคล. ขคฺคฺ ขณฺฑเภเท, อ. ส. ขฑฺคฺ.
  2. โจลกโจฬก : (นปุ.) โล่, ดาบ, ทับทรวง ชื่อ เครื่องประดับที่คอหรืออก ถ้าประดับม้า ใช้ประดับที่หน้าผาก. จุ จวเน จาวเน วา. โล, โฬ.
  3. สายก : (ปุ.) ลูกธนู, ลูกศร, กระบี่, ดาบ, พระขรรค์, สา ตนุกรณาวสาเนสุ. ณฺวุ. ส. สายก.
  4. ตาป : (ปุ.) ความเจ็บ, ความรำคาญ, ความร้อน, ความเดือดร้อน, ความเร่าร้อน, ความแผดเผา. ตปฺ สนฺตาเป. โณ, อถวา, ธุปฺ สนฺตาเป. แปลง อุ เป็น อ ธ เป็น ต. ส. ตาป.
  5. ฏก ฏงฺก : (ปุ.) สิ่ว, เหล็กสกัดสิลา, เครื่องมือ ทำลายหิน, เครื่องมือช่างทำหิน, เครื่อง มือขุดดิน, ขวาน, ขวานเล็กๆ, ดาบ. ฏํกฺ วิทารเณ, อ. แปลง ก เป็น ค เป็น ฏงฺค บ้าง. แปลว่า ความโกรธบ้าง.
  6. ปาเรรก : ป. ดาบ
  7. มณฺฑลคฺค : (ปุ.) พระขรรค์, กระบี่, ดาบ. วิ. มณฺฑลคฺคํ ยสฺส โส มณฺฑลคฺโค.
  8. อสิ : (ปุ.) กระบี่, ดาบ.วิ.อสฺสเตขิปิยเตติอสิอสุ เขปเน, อิ. อถวา, อาปุพฺโพ, สีเฉทเน, อิ, รสฺโส.ส.อสิ.
  9. กรปาลิกา : (อิต.) กรปาลิกา ชื่อดาบชนิดหนึ่ง, เขน (เครื่องป้องกันศัตรา). วิ. กรํ ปาลย ตีติ กรปาลิกา. ณฺวุ ปัจ. อิ อาคม อาอิต. ส. กรปาลิกา ว่า คทา กระบี่.
  10. โกสิ : (อิต.) ฝัก เช่นฝักดาบเป็นต้น. กุสฺ สิเลสเน, อิ.
  11. ขคฺคคาหก : ป. ผู้ถือดาบ, ผู้ถือพระขรรค์, ผู้ถือกระบี่
  12. ขคฺคงฺค : (ปุ.) คมแห่งดาบ, คมดาบ.
  13. ขคฺคตล : นป. ใบพระขรรค์, ใบดาบ, ใบมีด
  14. ขคฺคธร : ค. ผู้ถือพระขรรค์, ผู้ถือดาบ
  15. ขคฺคธารา : อิต. คมพระขรรค์, คมดาบ
  16. ชฏ : (ปุ.) ฝัก (เช่นฝักดาบ). ชฏฺ สงฺฆาเต, อ.
  17. ถรุคฺคห : ค. ผู้ถือดาบ
  18. ธารา : (อิต.) การทรง, การรับไว้, การหนุน, ความทรง, ฯลฯ, ความสืบต่อ, คม, คม ดาบ, สายฝน (ที่ตกหนัก), สายน้ำ, กระแสน้ำ, ลำธาร, ห้วย, หยาดน้ำ, ท่อ, ท่อน้ำ, ลำราง. วิ.เวคํ ธาเรตีตฺธารา. เป็น ปุ. บ้าง. ส. ธารา.
  19. ปญฺจาวุธ : ป. อาวุธห้าอย่าง (ดาบ, หอก, ขวาน, ธนู, ตะบอง)
  20. พล : (นปุ.) ใบ, ใบไม้, ส่วน, ส่วนแบ่ง,ฝัก, ฝักดาบ, ท่อน, ตอน, กลีบ, กลีบดอกไม้. วิ. ทลตีติ ทลํ วิกสเน, อ. เป็น ทลฺล บ้าง ส. ทล.
  21. มณิ : (ปุ. อิต.) แก้ว, แก้วมณี, รตนะ, เพชร, พลอย, เพชรพลอย. วิ. มนติ มหคฺฆภาวํ คจฺฉตีติ มณิ. มนฺ ญาเน, อิ, นสฺส ณตฺตํ. มียติ อาภรณํ เอเต-นาติ วา มณิ. มา มานเน, อิ, นฺ อาคโม, อภิฯ และฎีกาอภิฯ ลง อี ปัจ. เป็น มณี อีกด้วย. แปลว่า ดาบเพชร ก็มี. กัจฯ ๖๖๙ วิ. มนํ ตตฺถ รตเน นยตีติ มณิ. มณี ชื่อรตนะอย่าง ๑ ใน ๗ อย่าง.
  22. มหาฉูริกา : (อิต.) ดาบปลายปืน.
  23. องฺค : (ปุ.) อังคะ ชื่อชนบท ๑ ใน ๒๐ ของอินเดียโบราณ ใช้เป็นพหุ. เสมอ เมืองหลวงชื่อจัมปา, คม (คมดาบ). อคิ คมเน, อ.
  24. อฏฺฐาวุธ : (นปุ.) อาวุธแปด อัษฎาวุธ อาวุธ แปด คือ พระแสงหอกเพชรรัตน์ พระ แสงดาบเชลย พระแสงตรี พระแสงดาบ และเขน หรือ พระแสงดาบและโล่ พระ แสงธนู พระแสงของ้าวแสนพลพ่าย และพระแสงปืนคาบชุดข้ามแม่น้ำสะ โตง.
  25. อฏฺฐาวุธ : (นปุ.) อาวุธแปดอัษฎาวุธอาวุธแปดคือพระแสงหอกเพชรรัตน์พระแสงดาบเชลยพระแสงตรีพระแสงดาบและเขนหรือพระแสงดาบและโล่ พระแสงธนูพระแสงของ้าวแสนพลพ่าย และพระแสงปืนคาบชุดข้ามแม่น้ำสะโตง.
  26. อรหตฺตมคฺคญาณาสิ : (ปุ.) ดาบคือญาณอันสัม-ปยุตแล้วด้วยมรรคอันเป็นไปในพระอรหัต.
  27. อสิก : ค. มีดาบ, มีกระบี่, มีมีด
  28. อสิคฺคาหก : ค. ผู้ถือดาบ, ผู้ถือพระแสง
  29. อสิจมฺม : นป. ดาบและโล่
  30. อสิถรุ : ป. ด้ามดาบ
  31. อสิทนฺต : ป. สัตว์มีฟันเป็นดาบ, จระเข้
  32. อสิธารา : (อิต.) คมของดาบ, คมดาบ.
  33. อสินข : ค. มีเล็บเหมือนดาบ, มีเล็บดังดาบ
  34. อสิปตฺต : ค. มีใบเหมือนดาบ, ใบดาบ, คมดาบ
  35. อสิปาส : ค. มีดาบเป็นบ่วง (เทวดาจำพวกหนึ่ง)
  36. อสิมล : นป. สนิมดาบ, วิธีขับไล่สนิมดาบ, (วิธีบำเพ็ญตบะอย่างหนึ่ง)
  37. อสิลกฺขณ : นป. ลักษณะดาบ, เครื่องหมายบนดาบ, การทายโชคชะตาจากเครื่องหมายดาบ
  38. อสิโลม : ค. มีขนเป็นดาบ, มีขนคมเหมือนดาบ
  39. อสิวีส : (ปุ.) สัตว์มีพิษเพียงดังดาบ, อสรพิษ(มีพิษในเขี้ยว มีพิษที่เขี้ยว).
  40. อสิสูล : นป. ใบดาบ, ด้านคมของดาบ
  41. อสิหตฺถ : (วิ.) ผู้มีดาบในมือ.
  42. อิลฺลิยา : อิต. กระบี่, ดาบสั้น, กฤช
  43. อิลฺลี : (อิต.) อิลลี ชื่อดาบชนิดหนึ่ง, เขน ชื่อ เครื่องมือสำหรับป้องกันอาวุธ รูปสี่เหลี่ยม ผืนผ้า. เป็น อิลี โดยไม่แปลง ล เป็น ลฺล บ้าง.
  44. ตาปสี, ตาปสินี : อิต. ดาบสหรือนักพรตหญิง, ตาปสินี
  45. ตาปสินี : (อิต.) หญิงดาบส, ดาบสหญิง..
  46. จิตฺตสนฺตาป : นป. ความเร่าร้อนแห่งจิต, ความโศกเศร้าทุกข์ใจ
  47. ตาปี : ค. ผู้มีตบะ, ผู้บำเพ็ญตบะ
  48. นิรุปตาป : ค. ซึ่งไม่มีความเร่าร้อน, ซึ่งไม่มีความกระวนกระวาย
  49. ปจฺฉาตาป : ป. การเร่าร้อนในภายหลัง
  50. ปจฺฉานุตาป : ป. การตามเดือดร้อนในภายหลัง, ความสำนึกตัว
  51. [1-50] | 51-62

(0.0163 sec)