Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ดึก , then ดก, ดึก, ตึก .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ดึก, 49 found, display 1-49
  1. กตฺติกา : (อิต.) กัตติกา ชื่อดาวฤกษ์กลุ่มที่ ๓ ใน ๒๗ กลุ่ม มี ๘ ดวง, ดาวลูกไก่, ดาว ธงสามเหลี่ยม, กรรดึก. ส. กฤตฺติกา
  2. อติสายณฺห : (ปุ.) เย็นนัก, ค่ำนัก, ดึกนัก, ดึกมาก.
  3. สุปฺปตึก : (ปุ.) สุปปตีกะ ชื่อช้างประจำทิศอีสาน เป็นทิศที่ ๘ ใน ๘ ทิศ.
  4. ติญฺชกาวสถ : (ปุ.) ที่เป็นที่อยู่สร้างด้วยอิฐ, ตึก.
  5. กฺริย : (นปุ.) การอันสัตบุรุษควรทำ (ได้แก่ ทานศีลและภาวนา) วิ. สปฺปุริเสหิ กตฺตพฺพนฺติ กฺริยํ. กรฺ กรเณ, โณย. ลบ อ ที่ ก อิ อาคม.
  6. เกสนิวาสี : ค. (เปรต) ผู้นุ่งผม, ผู้มีผมรุงรัง, ผู้มีขนที่ลับดก
  7. เกสว : (วิ.) มีผม (ผมดก) วิ. เกสา อสฺส อตฺถีติ เกสโว. ว ปัจ. ตทัสสัตถิตัท. รูปฯ ๓๘๒. ส.เกศว.
  8. ขาทนีย : (นปุ.) วัตถุอันบุคคลพึงกัดกิน, ของ เคี้ยว, ของเคี้ยวกิน, ของควรเคี้ยวกิน, ของ กิน (ยกเว้นโภชนะ ๕), ขาทนียะ ได้แก่ ยาคู ยามกาลิก สัตตาหกาลิก และ ยาวชีวิก ไตร. ๓/๒๑๖. ขาทนียะบางอย่างก็ ไม่ต้องเคี้ยวเช่นน้ำอัฏฐปานะ ดูโภชนียด้วย.
  9. ครุกมฺม ครุกกมฺม : (นปุ.) กรรมหนัก. กรรม หนักฝ่ายกุศลได้สมาบัติ ๘ ฝ่ายอกุศล ได้แก่ อนันตริยกรรม ๕. วิ. กมฺมนตเรหิ ปฏิพาหิตํ อสกฺกุเณยฺยตฺตา ครํ ครุกํ วา กมฺมนฺติ ครุกมฺมํ ครุกกมฺมํ วา.
  10. ครุกาปตฺติ : (อิต.) อาบัติหนัก, ครุกาบัติ ได้แก่ ปาราชิก ๔ และสังฆาทิเสส ๑๓.
  11. จกฺขุ : (นปุ.) ตา ( ธรรมชาติที่เห็นรูปได้ ), นัยน์ตา โดยมากหมายเอา แววตา ประสาท ตา. วิ. จกฺขติ รูปนฺติ จกฺขุ จกฺขฺ ทสฺสเน, อุ. กัจฯ และรูปฯ ลง ณุ ปัจ. จกฺขุ ศัพท์ ใช้ในอรรถ ๕ อย่างคือ พุทฺธจกฺขุ ได้แก่ พุทธญาณ ๑ สมนฺตจกฺขุ ได้แก่พระ สัพพัญญุตญาณ ๑ ปญฺญาจกฺขุ ได้แก่จักษุ คือปัญญา ๑ ธมมจกฺขุ ได้แก่ญาณ ใน มรรคสามเบื้องต้น ๑ มํสจกฺขุ ได้แก่ตา เนื้อ และทิพฺพจกฺขุ ตาทิพ ๑ ส. จกฺษุ.
  12. จีวร : (นปุ.) ผ้า วิ. จียตีติ จีวรํ. จิ จเย, อีวโร. ศัพท์จีวร นี้แปลว่าผ้า หมายถึงผ้าทุกชนิด ไทยนำคำจีวรมาใช้ออกเสียงว่า จีวอน ใช้ ในความหมาย ๒ อย่างคือหมายถึงผ้าของ ภิกษุทั้ง ๓ ผืน ได้แก่ ผ้านุ่ง ผ้าห่ม และ ผ้าสังฆาฏิ ได้ในคำว่า บาตรจีวร หรือไตร จีวรอย่าง ๑ หมายเอาเฉพาะผ้าห่มอย่าง เดียวได้ในคำว่า สบง จีวร สังฆาฏิ นี้อีก อย่าง ๑.
  13. ชีวิตินฺทฺรย ชีวินฺทฺริย : (นปุ.) ความเป็นอยู่, อินทรีย์ คือชีวิต, อายุ, ชีวิต, ชีวิตินทรีย์ ได้แก่ เจตสิกที่เป็นใหญ่ในการรักษานาม ธรรม.
  14. ติจีวร : (นปุ.) ผ้าสามผืน, ผ้าไตร, ไตรจีวร. เครื่องนุ่งห่มของพระมี ๓ ผืน ได้แก่ สบง ผ้าสำหรับนุ่ง ๑ จีวรผ้าสำหรับห่ม ๑ สังฆาฏิ ผ้าซ้อนนอกสำหรับกันหนาว หรือผ้าทบ ๑ มีพระบรมพุทธานุญาตให้ ภิกษุมีผ้าสามผืนเท่านี้ ผ้านอกนี้จะมีไว้ใช้ ต้องใช้กับของวิกัป.
  15. ติวคฺค : (ปุ.) หมวดแห่งวัตถุสามที่ควรแสวง หา ได้แก่ ธัมมะ คือ ห น้าที่ ๑ กามะ ความสุข ๑ อัตถะ ทรัพย์สมบัติ ๑ .
  16. ทุฏฺฐุลลาปตฺติ : (อิต.) อาบัติชั่วหยาบ, อาบัติ ชั่วหยาบ ได้แก่ ปาราชิก ๔ ข้อ และ สังฆาทิเสส ๑๓.
  17. ทุภร พุพฺภร : (วิ.) ผู้อัน...เลี้ยงได้โดยยาก วิ. ทุกฺเขน ภริยตีติ ทุภโร ทุพฺภโร วา. ทุกฺข+ภรฺ+ข ปัจ. รูปฯ ไขว่า ได้แก่ มหิจฺฉ.
  18. เทวธมฺม : (ปุ.) ธรรมอันเทวดาประพฤติ, ธรรมของเทวดา, ธรรมของชาวสวรรค์, ธรรมอันทำบุคคลให้เป็นเทวดา ได้แก่ หิริ และโอคตัปปะ.
  19. นิยฺยานิกธมฺม : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องนำออก, ธรรมอันนำสัตว์ออกจากทุกข์. ธรรม อันนำสัตว์ออกจากวัฏสงสาร (ได้แก่ อริยมรรค ๔).
  20. ปปญฺจธมฺม : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องยังสัตว์ให้ เนิ่นช้า. ปปัญจธรรม ได้แก่ ตัณหา มานะ และทิฎฐิ ( ความเห็นผิด ) เพราะทำ สังสารวัฎให้ยืดยาว.
  21. ปรมตฺถคติ : อิต. คติอันสูงสุด, ทางไปแห่งชีวิตอันยอดเยี่ยม ได้แก่ ปนุปาทิเสสนิพพาน
  22. ปรมตฺถธมฺม : (ปุ.) ธรรมมีเนื้อความอย่างยิ่ง, ธรรมมีเนื้อความอันประเสริฐ, ธรรมมี เนื้อความอันลึกซึ้ง, ธรรมมีอรรถอย่างยิ่ง, ฯลฯ, ปรมัตถธัม คือ จิต ๘๙ ดวง หรือ๑๒๑ ดวง เจตสิก ๕๒ ดวง รูป ๒๘ พระนิพพาน ๑. เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า พระอภิธรรม ได้แก่ หระอภิธัมมปิฎก.
  23. ปริตฺตารมฺมณธมฺม : (ปุ.) ธรรมมีอารมณ์เป็น ปริตตะ ได้แก่ จิตและเจตฺสิกอันเป็น กามาวจร. ไตร. ๓๓ / ๓๖๗.
  24. ปุพฺพณฺณ : (นปุ.) ของที่กินก่อน, ปุพพัณชาต. ปุพพัณชาต ได้แก่ ธัญชาติ ๗ อย่าง คือ. ๑. สาลี ข้าวไม่มีแกลบ ๒. วีหิ ข้าวเปลือก ๓. กุทฺรุสโก หญ้ากับแก้ ๔. โคธุโม ข้าวละมาน ๕. วรโก ลูกเดือย ๖. ยโว ข้าวเหนียว และ ๗. กงฺคุ ข้าวฟ่าง. ไตร ๓๐ ข้อ ๗๖๒. วิ. อปรนฺนสฺส ปุพฺเพ ปวตฺตํ อนฺนํ ปุพฺพนฺนํ. แปลง นฺน เป็น ณฺณฺ อภิฯ เป็น ปุพฺพนฺน.
  25. ปุพฺพณฺณชาติ : (อิต.) บุพพัณชาติ คือพืชที่จะกินก่อน ได้แก่ ข้าวทุกชนิด.
  26. ผลิต : ค. ผมหงอก, แตก; ผลิ, ผลิผล, มีผลดก
  27. โพธิสตฺต : (ปุ.) สัตว์ผู้มีปัญญาเป็นเครื่องตรัสรู้, มนุษย์ผู้มีปัญญาเป็นเครื่องตรัสรู้, บุคคลผู้ข้องอยู่ในพระโพธิญาณ, พระโพธิสัตว์ คือ สัตว์ผู้ข้องอยู่ในพระโพธิญาณ ได้แก่ ท่านผู้จะได้ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้า.
  28. มคฺคาธิปติธมฺม : (ปุ.) ธรรมมีมรรคเป็นอธิบดี ได้แก่ ธรรมคือจิตและเจตสิกที่ทำอริยมรรคให้เป็นอธิบดี.
  29. มชฺฌิมธมฺม : (ปุ.) ธรรมปานกลาง ได้แก่ กุศลธรรมและอัพยากตธรรมที่เป็นกามาสวะ เป็น กามาวจร รูปาวจร และ อรูปาวจร. ไตร. ๓๓.
  30. มชฺฌิมสสาร : (ปุ.) สังสาร (การเวียนตายเวียนเกิด) อันมีในท่ามกลาง ได้แก่ การท่องเที่ยวไปในกามสุคติภูมิ ๗ (มนุษย์และสวรรค์ ๖ ชั้น) พระอนา -คามีตัดมัชฌิมสังสารได้ขาด.
  31. มโนปุพฺพงฺคม : (วิ.) มีใจเป็นสภาพถึงก่อน, มีใจเป็นธรรมถึงก่อน, มีใจเป็นหัวหน้า, มีใจเป็นประธาน. วิ. อุปฺปาทปฺปจฺจยตฺเถนมโน ปุพฺพงฺคโม เอเตสนฺติ มโนปุพฺพงฺคมา (ธมฺมา). คำว่า ธรรม ท. ได้แก่ เวทนขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์.
  32. มหาภูต : (ปุ. นปุ.) มหาภูต คือธาตุทั้ง ๔ ได้แก่ ดิน น้ำ ไฟ และ ลม.
  33. มิจฺฉตฺตนิยตธมฺม : (ปุ.) ธรรมเป็นมิจฉาสภาวะและธรรมเป็นนิยตะ, ธรรมเป็นมิจฉาสภาวะและให้ผลแน่นอน ได้แก่ อนันตริยกรรมและนิยตมิจฉาทิฏฐิ. ไตร. ๓๓.
  34. มูลกมฺมฏฺฐาน : (นปุ.) กัมมัฏฐานเดิม, กัมมัฏฐานอันเป็นเดิม, ได้แก่ เกสา โลมา นขา ทนฺตา ตโจ ซึ่งพระอุปัชฌาย์ให้เมื่อขอบรรพชาอุปสมบท.
  35. ยามกาลิก : (นปุ.) ของเป็นยามกาลิก คือของที่ภิกษุรับประเคนแล้ว ฉันได้ชั่วคราว คือวันหนึ่งกับคืนหนึ่ง ได้แก่ น้ำอัฐบาน.
  36. ยาวกาลิก : (นปุ.) ของเป็นยาวกาลิก คือของที่ภิกษุรับประเคนได้เฉพาะเวลาเช้าถึงก่อนเที่ยง และฉันได้เช้าชั่วเที่ยงเท่านั้น ได้แก่ ข้าว อาหารทุกอย่าง.
  37. สงฺฆกมฺม : นป. การกระทำของสงฆ์ ได้แก่ กิจที่พระสงฆ์ตั้งแต่ ๔ รูปขึ้นไปร่วมกันทำในสีมา
  38. สภาวธมฺม : (ปุ.) ความเป็นเอง, สิ่งที่เกิดเอง, สิ่งที่เป็นเอง, หลักแห่งความเป็นเอง, สภาวธัมม์ สภาพธรรม ได้แก่ ขันธ์ ๕ อายตนะ ๑๒ ธาตุ ๑๘ อินทรีย์ ๒๒.
  39. สมฺมาทิฏฐ : (อิต.) ความเห็นชอบ, ความเห็นโดยชอบ. วิ. สมฺมาทสฺสนํ สมฺมาทิฏฐ. ความเห็นโดยชอบคือโดยไม่วิปริต วิ. สมฺมา อวิปริตโต ทสฺสนํ สมฺมาทิฏฐ. ปัญญาอันเห็นชอบ, ปัญญาเห็นชอบ. สมฺมาปุพฺโพ, ทิสฺ เปกฺขเณ, ติ, ติสฺส ฏฐ, สฺโลโป. สัมาทิฆฐิ แบ่งเป็น ๒ คือ โลกิยสัมมาทิฏฐิ อย่าง ๑ โลกุตตรสัมมาทิฏฐิอย่าง ๑ อีกอย่างหนึ่ง สัมมาทิฏฐิ อย่างธรรมดา ได้แก่ ความเห็นที่ถูกต้องตามทำนองคลองธรรม เช่น เห็นว่าทำดี ได้ความดี ทำชั่วได้ความชั่ว พ่อ แม่ มีบุญคุณ เป็นต้น สัมมาทิฏฐิอย่างสูง ได้แก่ความเห็นอริยสัจ ๔.
  40. โสตาปตฺติยงฺคธมฺม : (ปุ.) ธรรมอันเป็นองค์แห่งการบรรลุกระแสพระนิพพาน, ธรรมอันเป็นเหตุยังบุคคลผู้ปฏิบัติให้ถึงกระแสแห่งพระนิพพาน. ธรรมอันยังผู้ปฏิบัติให้บรรลุกระแสแห่งพระนิพพาน ได้แก่ วุฑฒิธรรม ๔ ไตร ๑๑.
  41. อกุสลจิตฺต : (นปุ.) จิตอันเป็นอกุศล, อกุศลจิต คือจิตที่มีความชั่ว เป็นจิตที่ประกอบด้วยอกุศลเจตสิก ได้แก่ โลภมูลจิต ๘โทสมูลจิต ๒ โมหมูลจิต ๒.
  42. อธิปญฺา : (อิต.) คุณชาติอันอาศัยซึ่งปัญญาเป็น ไป, คุณชาติอันเป็นไปอาศัยซึ่งปัญญา, ปัญ ญายิ่ง, ปัญญาอย่างสูง, อธิปัญญา. ชื่อของ ปัญญามีกำลังกำจัดกิเลสได้เด็ดขาด ได้แก่ มัคคปัญญา.
  43. อนาวตฺตี : ป. ผู้ไม่กลับมาอีก, ได้แก่ พระอนาคามี
  44. อรตี : (อิต.) อรดีชื่อของธิดามาร ๑ ใน ๓ของพญามารซึ่งพญามารส่งมาผจญพระมหา-บุรุษตอนก่อนจะตรัสรู้.วิ.ปเรสักุสลธมฺ-เมอรตึกโรตีติอรตี.
  45. อุฏฺฐาน : (นปุ.) การลุกขึ้น, การตั้งขึ้น, การลุกรับ, การออดก (จากครรภ์), การคลอด ลูก, ความขยัน, ฯลฯ. ความเพียรเป็นเครื่อง ลุกขึ้น. อุปุพฺโพ, ฐาคตินิวุตฺติยํ, ยุ, ฏฺสํ โยโค. ส. อุตฺถาน.
  46. อุตฺตรนิกาย : (ปุ.) อุตตรนิกาย ชื่อนิกายสงฆ์ ในพระพุทธศาสนา เป็นนิกายฝ่ายเหนือ ได้แก่ ฝ่ายมหายาน.
  47. อุปปาติก : (วิ.) (สัตว์) ผู้ลอยมาเกิด, เกิดขึ้น, ผุดเกิด, เกิดผุดขึ้น, อุปปาติกะ, โอปปาติกะ (เกิดเอง โดยอาศัยอดีตกรรม ไม่มีบิดา มารดา ได้แก่ เทวดา พรหม สัตว์นรก เปรต อสุรกาย).
  48. อุปปีฬกกมฺม : (นปุ.) กรรมบีบคั้น, กรรม เบียดเบียนกรรมอื่น ๆ (ได้แก่ อกุศลกรรม ๑๒ มหากุศลกรรม ๘), อุปปีฬกกรรม (กรรมที่เบียดเบียนชนกกรรมซึ่งให้ผลอยู่ แล้วให้มีกำลังลดลง กรรมที่เบียดเบียนรูป นามซึ่งเกิดจากชนกกรรมให้มีกำลังลดลง).
  49. เอกายน เอกายนมคฺค : (ปุ.) ทางเป็นที่ไปสู่ คุณอันเอก, ทางเป็นที่ไปอันเอก, ทางสาย เอก, หนทางเอก, มรรคคือหนทางอันเอก, เอกายนมรรค คือ ทางสายเอก ได้แก่ อริยมรรค มีองค์ ๘.
  50. [1-49]

(0.0183 sec)