Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: .

Budhism Thai-Thai Dict : , 233 found, display 1-50
  1. โปทาราม : สวนซึ่งอยู่ใกล้ บ่อน้ำพุร้อนชื่อโปทา ใกล้พระนครราชคฤห์ เป็นสถานที่แห่งหนึ่งที่พระพุทธเจ้าเคยทำนิมิโอภาสแก่พระอานนท์
  2. ทังคนิพพาน : “นิพพานด้วยองค์นั้น”, นิพพานด้วยองค์ธรรมจำเพาะ เช่น มองเห็นขันธ์ ๕ โดยไรลักษณ์แล้วหายทุกข์ร้อน ใจสงบสบายมีความสุขอยู่ลอดชั่วคราวนั้นๆ, นิพพานเฉพาะกรณี
  3. ทังคปหาน : “การละด้วยองค์นั้น”, การละกิเลสด้วยองค์ธรรมที่จำเพาะกันนั้น คือละกิเลสด้วยองค์ธรรมจำเพาะที่เป็นคู่ปรับกัน แปลง่ายๆ ว่า การละกิเลสด้วยธรรมที่เป็นคู่ปรับ เช่น ละโกรธด้วยเมา (แปลกันมาว่า การละกิเลสได้ชั่วคราว)
  4. ทังควิมุ : พ้นด้วยองค์นั้นๆ หมายความว่า พ้นจากกิเลสด้วยอาศัยธรรมรงกันข้ามที่เป็นคู่ปรักกัน เช่น เกิดเมา หายโกรธ เกิดสังเวช หายกำหนัด เป็น้น เป็นการหลุดพ้นชั่วคราว และเป็นโลกิยวิมุิ ดู วิมุ
  5. ปุสสะ : พ่อค้าที่มาจารอุกกลชนบท คู่กับภัลลิกะ พบพระพุทธเจ้าขณะประทับอยู่ ณ ภายใ้นไม้ราชายนะ ภายหลังรัสรู้ใหม่ๆ ได้ถวายเสบียงเดินทาง คือ ข้าวสัุผล ข้าวสัุก้อน แล้วแสดงนเป็นอุบาสก ถึงพระพุทธเจ้ากับพระธรรมเป็นสรณะ นับเป็นปฐมอุบาสกผู้ถึงสรณะ ๒ ที่เรียกว่า เทฺววาจิก
  6. ทัสสนานุริยะ : การเห็นที่ยอดเยี่ยม (ข้อ ๑ ในอนุริยะ ๓ หมายถึงปัญญาอันเห็นธรรม ลอดถึงเห็นนิพพาน; ข้อ ๑ ในอนุริยะ ๖ หมายถึง เห็นพระถาค ถาคสาวก และสิ่งอันบำรุงจิใจให้เจริญ)
  7. ปัญญาวิมุ : ความหลุดพ้นด้วยปัญญา, ความหลุดพ้นที่บรรลุด้วยการกำจัดอวิชชาได้ ทำให้สำเร็จอรหัผล และทำให้เจโวิมุิ เป็น เจโวิมุิที่ไม่กำเริบ คือ ไม่กลับกลายได้อีก่อไป เทียบ เจโวิมุ
  8. โลกุรสุข : ความสุขอย่างโลกุระ, ความสุขที่เหนือกว่าระดับของชาวโลก, ความสุขที่เหนือกว่าระดับของชาวโลก, ความสุขเนื่องด้วยมรรค ผล นิพพาน
  9. สิทธัถกุมาร : พระนามเดิมของพระพุทธเจ้า ก่อนเสด็จออกบรรพชา ทรงเป็นพระราชโอรสของพระเจ้าสุทโธทนะและพระนางสิริมหามายา คำว่า สิทธัถะ แปลว่า มีความ้องการสำเร็จหรือสำเร็จามที่้องการ คือสมประสงค์ จะ้องการอะไรได้หมด ทรงอภิเษกสมรสกับพระนางยโสธรา เมื่อพระชนมายุ ๑๖ ปี เสด็จออกบรรพชาเมื่อพระชนมายุ ๒๙ ปี ได้รัสรู้เป็นพระพุทธเจ้า เมื่อพระชนมายุ ๓๕ ปี ปรินิพพานเมื่อพระชนมายุ ๘๐ ปี
  10. อชาศัรู : โอรสของพระเจ้าพิมพิสารกับพระนางโกศลเทวี กษัริย์แคว้นมคธ ขณะพระนางโกศลเทวีทรงครรภ์ ได้แพ้ท้องอยากเสวยโลหิของพระเจ้าพิมพิสาร พระเจ้าพิมพิสารทรงทราบจึงเอาพระขรรค์แทงพระชานุ (เข่า) รองพระโลหิให้พระนางเสวย โหรทำนายว่า พระโอรสที่อยู่ในครรภ์เกิดมาจะทำปิุฆา พระนางโกศลเทวีพยายามทำลายด้วยการให้แท้งเสีย แ่ไม่สำเร็จ ในที่สุดคิดจะรีด แ่พระเจ้าพิมพิสารทรงห้ามไว้ เมื่อครบกำหนดประสูิเป็นกุมาร จึงั้งพระนามพระโอรสว่า อชาศัรู แปลว่า เป็นศัรูั้งแ่ยังไม่เกิด ในที่สุดเจ้าชายอชาศัรูก็คบคิดกับพระเทวทัฆ่าพระราชบิดาามที่โหรทำนายไว้ และได้ขึ้นครองราชสมบัิแคว้นมคธ ณ กรุงราชคฤห์ แ่ทรงสำนึกและกลับพระทัยได้ หันมาทรงอุปถัมภ์บำรุงพระพุทธศาสนา และได้เป็นพุทธศาสนูปถัมภก ในการสังคายนาครั้งที่ ๑ (คำ “อชาศัรู” บางท่านแปลใหม่ว่า มิได้เกิดมาเป็นศัรู)
  11. อนุริยะ : ภาวะที่ยอดเยี่ยม, สิ่งที่ยอดเยี่ยม มี ๓ คือ ๑) ทัสสนานุริยะ การเห็นอันเยี่ยม คือ เห็นธรรม ๒) ปฏิปทานุริยะ การปฏิบัิอันเยี่ยม คือ มรรคมีองค์ ๘ ๓) วิมุานุริยะ การพ้นอันเยี่ยม คือ พ้นกิเลสและกองทุกข์; อนุริยะอีกหมวดหนึ่งมี ๖ คือ ๑) ทัสสนานุริยะ การเห็นอันเยี่ยม ๒) สวนานุริยะ การฟังอันเยี่ยม ๓) ลาภานุริยะ ลาภหรือการได้อันเยี่ยม ๔) สิกขานุริยะ การศึกษาอันเยี่ยม ๕) ปาริจริยานุริยะ การบำรุงอันเยี่ยม ๖) อนุสสานุริยะ การระลึกอันเยี่ยม ดู คำอธิบายที่คำนั้นๆ
  12. อังคุรนิกาย : ชื่อนิกายที่ ๔ ในบรรดานิกาย ๕ แห่งพระสุันปิฎก เป็นที่ชุมนุมพระสูรซึ่งจัดเข้าลำดับามจำนวนหัวข้อธรรม เป็นหมวด ๑ (เอกนิบา) หมวด ๒ (ทุกนิบา) เป็น้น จนถึงหมวด ๑๑ (เอกาทสนิบา)
  13. อาทิปริยายสู : ชื่อพระสูรที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงแก่ภิกษุประมาณ ๑,๐๐๐ รูป มีอุรุเวลกัสสป เป็น้น ซึ่งเคยเป็นชฏิลบูชาไฟมาก่อน ว่าด้วยอายนะทั้ง ๖ ที่ร้อนิดไฟลุกทั่ว ด้วยไฟราคะ ไฟโทสะ และไฟโมหะ อลดจนร้อนด้วยทุกข์ มีชาิ ชรามรณะ เป็น้น ทำให้ภิกษุเหล่านั้นบรรลุอรหัผล (มาในคัมภีร์มหาวรรค แห่งพระวินัยปิฎก และสังยุนิกาย สฬายนวรรค พระสุันปิฎก)
  14. กฐินัถารกรรม : การกรานกฐิน
  15. กังขาวิรณวิสุทธิ : ความบริสุทธิ์ด้วยหมดสงสัยในนามรูป คือ กำหนดรู้ปัจจัยแห่งนามรูปได้ว่า เพราะอะไรเกิดนามรูปจึงเกิด เพราะอะไรดับ นามรูปจึงดับ
  16. กัมมชวา : (เพิ่ม)
  17. กัลยาณมิ : ความมีเพื่อนเป็นคนดี ไม่คบคนชั่ว - good friendship; good company; association with the virtuous.
  18. ู่ : กล่าวอ้างหรือทึกทักเอาของผู้อื่นว่าเป็นของัว, กล่าวอ้างผิดัว ผิดสิ่ง ผิดเรื่อง, ในคำว่า กล่าวู่พระพุทธเจ้า หรือู่พุทธพจน์ หมายความว่า อ้างผิดๆ ถูกๆ, กล่าวสิ่งที่รัสว่ามิได้รัส กล่าวสิ่งที่มิได้รัสว่าได้รัสไว้, พูดให้เคลื่อนคลาดหรือไขว้เขวไปจากพุทธดำรัส, พูดใส่โทษ, กล่าวข่มขี่, พูดกด เช่น คัดค้านให้เห็นว่า ไม่จริงหรือไม่สำคัญ
  19. เทวปุมาร : มารคือเทพบุร, เทวบุรเป็นมาร เพราะเทวบุรบางนที่มุ่งร้าย คอยขัดขวางเหนี่ยวรั้งบุคคลไว้ไม่ให้สละความสุขออกไปบำเพ็ญคุณธรรมที่ยิ่งใหญ่ ทำให้บุคคลนั้นพินาศจากความดี, คัมภีร์สมัยหลังๆ ออกชื่อว่า พญาวสวัีมาร (ข้อ ๕ ในมาร ๕)
  20. ปรมัถมัญชุสา : ชื่อคัมภีร์ฎีกาที่พระธรรมบาลรจนาขึ้น เพื่ออธิบายความในคัมภีร์วิสุทธิมรรคของพระพุทธโฆษาจารย์; นิยมเรียกว่า มหาฎีกา
  21. มหาปรันปะ : นามหนึ่งที่บางท่านถือมาว่าอยู่ในรายชื่ออสีิมหาสาวก แ่ไม่ปรากฏว่ามีชาิภูมิเป็นมาอย่างไร บางทีจะเกิดจากความสับสนกับพระนามพระราชบิดาของพระเจ้าอุเทน (ที่ถูก คือ ปุณณ สุนาปรันะ)
  22. มานัจาริกภิกษุ : ภิกษุผู้ประพฤิมานั
  23. มิปฏิรูป : คนเทียมมิร, มิรเทียม ไม่ใช่มิรแท้ มี ๔ พวก ได้แก่ ๑.คนปอกลอก มีลักษณะ ๔ คือ ๑.คิดเอาแ่ได้ฝ่ายเดียว ๒.ยอมเสียน้อยโดยหวังจะเอาให้มาก ๓.ัวมีภัย จึงมาช่วยทำกิจของเพื่อน ๔.คบเพื่อนเพราะเห็นแก่ประโยชน์ของัว ๒.คนดีแ่พูด มีลักษณะ ๔ คือ ๑.ดีแ่ยกของหมดแล้วมาปราศรัย ๒.ดีแ่อ้างของยังไม่มีมาปราศรัย ๓.สงเคราะห์ด้วยสิ่งหาประโยชน์มิได้ ๔.เมื่อเพื่อนมีกิจ อ้างแ่เหุขัดข้อง ๓.คนหัวประจบ มีลักษณะ ๔ คือ ๑.จะทำชั่วก็เออออ ๒.จะทำดีก็เออออ ๓.่อหน้าสรรเสริญ ๔.ลับหลังนินทา ๔.คนชวนฉิบหาย มีลักษณะ ๔ คือ ๑.คอยเป็นเพื่อนดื่มน้ำเมา ๒.คอยเป็นเพื่อนเที่ยวกลางคืน ๓.คอยเป็นเพื่อนเที่ยวดูการเล่น ๔.คอยเป็นเพื่อนไปเล่นการพนัน
  24. โลกุมาจารย์ : อาจารย์ผู้สูงสุดของโลก, อาจารย์ยอดเยี่ยมของโลก หมายถึงพระพุทธเจ้า
  25. โลกุระ : พ้นจากโลก, เหนือโลก, พ้นวิสัยของโลก, ไม่เนื่องในภพทั้ง ๓ (พจนานุกรม เขียน โลกุร) คู่กับ โลกิยะ
  26. โลกุราริยมรรคผล : อริยมรรคและอริยผลที่พ้นวิสัยของโลก
  27. วรฺคานฺ : สวนป่า เช่น สาลวโนทยาน คือ สวนป่าไม้สาละ
  28. วัขันธกะ : ชื่อขันธกะที่ ๘ แห่งคัมภีร์จุลวรรค วินัยปิฎก ว่าด้วยวัรประเภท่างๆ
  29. วัปฏิบั : ดู วัรปฏิบั
  30. วัเภท : ความแกแห่งวัรหมายความว่าละเลยวัร, ละเลยหน้าที่ คือไม่ทำามข้อปฏิบัิที่กำหนดไว้ เช่น ภิกษุผู้กำลังประพฤิมานั หรือกำลังอยู่ปริวาส ละเลยวัรของน พระอรรถกถาจารย์ปรับอาบัิทุกกฏ
  31. วินีวัถุ : เรื่องที่ท่านวินิจฉัยแล้ว, เรื่องที่ัดสินแล้ว ท่านแสดงไว้เป็นัวอย่างสำหรับเทียบเคียงัดสิน ในการปรับอาบัิ (ทำนองคำพิพากษาของศาลสูงสุดที่นำมาศึกษากัน)
  32. สมันจักขุ : จักษุรอบคอบ, าเห็นรอบ ได้แก่พระสัพพัญญุญาณ อันหยั่งรู้ธรรมทุกประการ เป็นคุณสมบัิพิเศษของพระพุทธเจ้า (ข้อ ๕ ในจักขุ ๕)
  33. สมันปาสาทิกา : ชื่อคัมภีร์อรรถกถาอธิบายความในพระวินัยปิฎก พระพุทธโฆษาจารย์เรียบเรียงขึ้น เมื่อ พ.ศ.ใกล้จะถึง ๑๐๐๐ โดยปรึกษาอรรถกถาภาษาสิงหฬที่มีอยู่ก่อน ชื่อ มหาปัจจริย และกุรุนที
  34. สัญจริ : การชักสื่อให้ชายหญิงเป็นผัวเมียกัน เป็นชื่อสังฆาทิเสสสิกขาบทที่ ๕ ที่ห้ามการชักสื่อ
  35. สัถะ : เกวียน, ่าง, หมู่เกวียน, หมู่พ่อค้าเกวียน
  36. สัิกขันธกะ : ชื่อขันกะที่ ๑๒ แห่งจุลวรรคในพระวินัยปิฏก ว่าด้วยการสังคายนาครั้งที่ ๒
  37. สาณัิกะ : อาบัิที่้องเพราะสั่ง คือสั่งผู้อื่นทำ ัวเองไม่ได้ทำ ก็้องอาบัิ เช่น สั่งให้ผู้อื่นลักทรัพย์ เป็น้น
  38. สุันปิฎก : ดู ไรปิฏก
  39. อชาปฐพี : ปฐพีไม่แท้ คือดินที่เป็นหินเป็นกรวด เป็นกระเบื้อง เป็นแร่ เป็นทรายล้วน หรือมีดินร่วนดินเหนียวน้อย เป็นของอื่นมากก็ดี ดินที่ไฟเผาแล้วก็ดี กองดินร่วน หรือกองดินเหนียว ที่ฝนกรดหย่อนกว่า ๔ เดือนก็ดี
  40. อนิมิวิโมกข์ : หลุดพ้นด้วยไม่ถือนิมิ คือ หลุดพ้นด้วยพิจารณาเห็นนามรูปเป็นอนิจจะ แล้วถอนนิมิได้ (ข้อ ๒ ในวิโมกข์ ๓)
  41. อนิมิสมาธิ : สมาธิอันพิจารณาธรรมไม่มีนิมิ คือ วิปัสสนาที่ให้ถึงความหลุดพ้นด้วยกำหนดอนิจจลักษณะ (ข้อ ๒ ในสมาธิ ๓)
  42. อรหัผล : ผลคือการสำเร็จเป็นพระอรหัน์, ผลคือความเป็นพระอรหัน์, ผลที่ได้รับจากการละสังโยชน์ทั้งหมด อันสืบเนื่องมาจากอรหัมรรค ทำให้เป็นพระอรหัน
  43. อรหัวิโมกข์ : ความพ้นจากกิเลสด้วยอรหั หรือเพราะสำเร็จอรหั คือ หลุดพ้นขั้นละกิเลสได้สิ้นเชิงและเด็ดขาด สำเร็จเป็นพระอรหัน
  44. อรหันสัมมาสัมพุทธเจ้า : พระอรหัน์ผู้รัสรู้ชอบด้วยพระองค์เอง หมายถึง พระพุทธเจ้า
  45. อัภาพ : ความเป็นัวน, ชีวิ, เบญจขันธ์, บัดนี้เขียน อัภาพ
  46. อัวาทุปาทาน : การถือมั่นวาทะว่าน คือ ความยึดถือสำคัญมั่นหมายว่า นั่นนี่เป็นัวน เช่น มองเห็นเบญจขันธ์เป็นอัา, อย่างหยาบขึ้นมา เช่น ยึดถือมั่นหมายว่า นี่เรา นั่นของเรา จนเป็นเหุแบ่งแยกเป็นพวกเรา พวกเขา และเกิดความถือพวก (ข้อ ๔ ในอุปาทาน ๔)
  47. อัวินิบา : ทำลายัวเอง, ฆ่าัวเอง; บัดนี้เขียน อัวินิบา
  48. อัสุทธิ : การทำนให้บริสุทธิ์จากบาป
  49. อัหิสมบั : ดู อัถสมบั
  50. เอกันโลมิ : เครื่องลาดที่มีขนกไปข้างเดียวกัน
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-233

(0.0309 sec)