Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ตรอง .

Eng-Thai Lexitron Dict : ตรอง, 4 found, display 1-4
  1. think about : (VT) ; พิจารณาเกี่ยวกับ ; Related:คิด, ตรึกตรอง, ขบคิดเกี่ยวกับ

Thai-Eng Lexitron Dict : ตรอง, more than 7 found, display 1-7
  1. ตรึกตรอง : (V) ; reflect ; Related:think (something over), ponder, consider ; Syn:ตรอง, ตริตรอง, ใคร่ครวญ, ไตร่ตรอง, ทบทวน ; Def:ใคร่ครวญหรือคิดทบทวนถึงเรื่องราวต่างๆ หรือเรื่องราวที่ผ่านมาแล้ว ; Samp:ปัญหาที่เกิดขึ้นทำให้แต่ละฝ่ายต้องตรึกตรองกันอย่างหนัก
  2. คิดคำนึง : (V) ; consider ; Related:contemplate, think of, reflect, mediate, propose ; Syn:ใคร่ครวญ, ตรอง, ครุ่นคิด ; Samp:การจะกระทำสิ่งใดเราจะต้องคิดคำนึงถึงในฐานะที่เป็นนักเขียนคนหนึ่งซึ่งมีชีวิตอยู่ในสังคม
  3. ไตร่ตรอง : (V) ; think over ; Related:consider, ponder ; Syn:ใคร่ครวญ, ตริตรอง, ตรอง ; Ant:บุ่มบ่าม, ไม่รอบคอบ ; Def:คิดทบทวน ; Samp:ผู้บริหารไตร่ตรองเรื่องนี้อย่างถี่ถ้วน
  4. การไตร่ตรอง : (N) ; meditation ; Related:pondering, thinking over, consideration ; Syn:การตริตรอง, การตรึกตรอง, การคิดทบทวน, การวิเคราะห์, การพิเคราะห์, การพิจารณา ; Samp:ในการพิจารณาคดีต่างๆ ของศาลต้องผ่านการไตร่ตรองอย่างรอบคอบแล้ว
  5. ความคิดอ่าน : (N) ; thinking ; Related:contemplation, consideration ; Syn:ความคิด, ความตรึกตรอง, ความคิดความอ่าน ; Samp:ทฤษฎีฟอยด์ถือว่าความคิดอ่านของคนเราต้องอยู่ภายใต้อิทธิพลแห่งแรงกระตุ้นสัญชาตญาณ
  6. คำนึง : (V) ; consider ; Related:contemplate, think of, mediate ; Syn:พิจารณา, ทบทวน, นึกตรอง ; Samp:พรรคการเมืองทุกพรรคประกาศว่าพรรคจะคำนึงถึงแต่ประโยชน์ส่วนรวมก่อน
  7. ตริตรอง : (V) ; reflect ; Related:meditate, consider, think, ponder, think over ; Syn:ไตร่ตรอง, ใคร่ครวญ, ทบทวน, ตรึกตรอง, ตริ ; Def:คิดใคร่ครวญ, คิดทบทวน, คิดพิจารณา ; Samp:ญาณพิจารณ์ หรือ วิจารณญาณ หมายถึง ความสามารถในการใช้ปัญญาตริตรองพิจารณาสอบสวนและให้เหตุผลที่ถูกต้อง
  8. Thai-Eng Lexitron Dict : ตรอง, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : ตรอง, more than 5 found, display 1-5
  1. ตรอง : [ตฺรอง] ก. คิดทบทวน.
  2. ตรึกตรอง : [ตฺรึกตฺรอง] ก. ใคร่ครวญ, คิดทบทวน, ตริตรอง.
  3. กระจายนะมณฑล : (โบ) น. ชื่อกลบทวรรคต้นใช้อักษรสูงนําหน้า วรรคที่ ๒ ใช้อักษรกลาง วรรคที่ ๓ ใช้อักษรต่า ตัวอย่างว่า สมเด็จพระศิริวิบุลกิตติ์ กําจัดจากโศกวิโยคหา ค่อยตรึกตรองฉลองคุณพระชนมา. (ชุมนุมตํารากลอน).
  4. ขบคิด : ก. คิดตรึกตรองอย่างหนัก.
  5. ขรึม : [ขฺรึม] ว. มีอาการนิ่งอย่างตรึกตรอง.
  6. Royal Institute Thai-Thai Dict : ตรอง, more results...

Budhism Thai-Thai Dict : ตรอง, 9 found, display 1-9
  1. ปฐมฌาน : ฌานที่ ๑ มีองค์ ๕ คือวิตก (ความตรึก) วิจาร (ตรอง) ปีติ (ความอิ่มใจ) สุข (ความสบายใจ) เอกัคคตา (ความมีอารมณ์เป็นหนึ่ง)
  2. รูปฌาน : ฌานมีรูปธรรมเป็นอารมณ์มี ๔ คือ ๑) ปฐมฌาน ฌานที่ ๑ มีองค์ ๕ คือ วิตก(ตรึก) วิจาร(ตรอง) ปีติ(อิ่มใจ) สุข(สบายใจ) เอกัคคตา(จิตมีอารมณ์เป็นหนึ่ง) ๒)ทุติยฌาน ฌานที่ ๒ มีองค์ ๓ คือ ปีติ, สุข, เอกัคคตา ๓)ตติยฌาน ฌานที่ ๓ มีองค์ ๒ คือ สุข, เอกัคคตา ๔) จตุตถฌาน ฌานที่ ๔ มีองค์ ๒ คือ อุเบกขา, เอกัคคตา
  3. วจีสังขาร : 1.ปัจจัยปรุงแต่งวาจา ได้แก่ วิตก (ตรึก) และวิจาร (ตรอง) ถ้าไม่มีตรึกตรองก่อนแล้ว พูดย่อมไม่รู้เรื่อง 2.สภาพที่ปรุงแต่งการกระทำทางวาจา ได้แก่ วจีสัญเจตนา คือความจงใจทางวาจา ที่ก่อให้เกิดวจีกรรม ดู สังขาร
  4. กาลามสูตร : สูตรหนึ่งในคัมภีร์ติกนิบาต อังคุตตรนิกาย พระพุทธเจ้าตรัสสอนชนชาวกาลามะแห่งเกสปุตตนิคมใน แคว้นโกศล ไม่ให้เชื่อถืองมงายไร้เหตุผล ตามหลัก ๑๐ ข้อ คือ อย่าปลงใจเชื่อ ด้วยการฟังตามกันมา, ด้วยการถือสืบๆ กันมา, ด้วยการเล่าลือ, ด้วยการอ้างตำราหรือคัมภีร์, ด้วยตรรก, ด้วยการอนุมาน, ด้วยการคิดตรองตามแนวเหตุผล, เพราะเข้ากันได้กับทฤษฎีของตน, เพราะมองเห็นรูปลักษณะน่าเชื่อ, เพราะนับถือว่าท่านสมณะนี้ เป็นครูของเรา; ต่อเมื่อใด พิจารณาเห็นด้วยปัญญาว่า ธรรมเหล่านั้นเป็นอกุศล เป็นกุศล มีโทษ ไม่มีโทษ เป็นต้นแล้ว จึงควรละหรือถือปฏิบัติตามนั้น เรียกอีกอย่างว่าเกสปุตติยสูตร หรือเกสปุตตสูตร.
  5. รูปวิจาร : ความตรองในรูป เกิดต่อจากรูปวิตก
  6. วิจาร : ความตรอง, การพิจารณาอารมณ์, การตามฟั้นอารมณ์ (ข้อ ๒ ในองค์ฌาน ๕)
  7. องค์ฌาน : (บาลี ว่า ฌานงฺค) องค์ประกอบของฌาน, องค์ธรรมทั้งหลายที่ประกอบกันเข้าเป็นฌานขั้นหนึ่งๆ เช่น ปีติ สุข เอกัคคตา รวมกันเรียกว่า ฌานที่ ๒ หรือทุติยฌาน; องค์ฌานทั้งหมดในฌานต่างๆ นับแยกเป็นหน่วยๆ ไม่ซ้ำกัน มีทั้งหมด ๖ อย่าง คือ วิตก ความตรึก วิจาร ความตรอง ปีติ ความอิ่มใจ สุข ความสุข อุเบกขา ความมีจิตเรียบสมดุลเป็นกลาง และ เอกัคคตา ความมีอารมณ์หนึ่งเดียว ดู ฌาน
  8. อัญญสมานาเจตสิก : เจตสิกที่มีเสมอกันแก่จิตพวกอื่น คือ ประกอบเข้าได้รับกับจิตทุกฝ่ายทั้งกุสลและอกุศล มิใช่เข้าได้ฝ่ายหนึ่งฝ่ายเดียว มี ๑๓ แยกเป็น ก) สัพพจิตตสาธารณเจตสิก (เจตสิกที่เกิดทั่วไปกับจิตทุกดวง) ๗ คือ ผัสสะ (ความกระทบอารมณ์) เวทนา สัญญา เจตนา เอกัคคตา ชีวิตินทรีย์ มนสิการ (ความกระทำอารมณ์ไว้ในใจ, ใส่ใจ) ข) ปกิณณกเจตสิก (เจตสิกที่เรี่ยราย คือ เกิดกับจิตได้ทั้งฝ่ายกุศลและอกุศล แต่ไม่แน่นอนเสมอไปทุกดวง) ๖ คือ วิตก (ความตรึกอารมณ์) วิจาร (ความตรองอารมณ์) อธิโมกข์ (ความปักใจในอารมณ์) วิริยะ ปีติ ฉันทะ (ความพอใจในอารมณ์)
  9. อาการที่พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอน : มี ๓ อย่างคือ ๑) ทรงรู้ยิ่งเห็นจริงเองแล้ว จึงทรงสั่งสอนผู้อื่น เพื่อให้รู้ยิ่งเห็นจริงตามในธรรมที่ควรรู้ควรเห็น ๒) ทรงสั่งสอนมีเหตุผลซึ่งผู้ฟังอาจตรองตามให้เห็นจริงได้ ไม่เลื่อนลอย ๓) ทรงสั่งสอนเป็นอัศจรรย์ ทำให้ผู้ฟังยอมรับ และนำไปปฏิบัติตาม ได้รับผลจริง บังเกิดประโยชน์สมควรแก่การปฏิบัติ

ETipitaka Pali-Thai Dict : ตรอง, more than 5 found, display 1-5
  1. ตกฺเกติ : ก. นึก, ตรึก, ตรอง, เชื่อใจ
  2. กาจนา : อิต. ความตรึกตรอง, ความพินิจ; เครื่องชั่ง
  3. เจโตปริวิตกฺก : ป. ความตรึกตรองแห่งจิต, ความครุ่นคิด, ความไตร่ตรอง
  4. นิชฺฌายติ : ก. ตรึกตรอง, คิด; หมดไป, สิ้นไป; ถูก (ความทุกข์) แผดเผา
  5. ปชฺฌายติ : ก. เพ่ง, ตรึกตรอง
  6. ETipitaka Pali-Thai Dict : ตรอง, more results...

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : ตรอง, not found

(0.0244 sec)