Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ตีน , then ตน, ติน, ตีน .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ตีน, 380 found, display 1-50
  1. ปตฺตาธารก : นป. เชิงรองบาตร, ตีน, หรือฝาบาตร
  2. กณฺณชลุกา กณฺณชลูกา : (อิต.) กิ้งกือ, ตะขาบ, ตะเข็บ ชื่อสัตว์เลื้อยคลานชนิด หนึ่งมีตีนมากคล้ายตะขาบแต่ตัวเล็กกว่า.
  3. โคปฺผก : นป. ข้อเท้า, ข้อตีน
  4. จรณ : (ปุ. นปุ.) ตีน, เท้า. วิ. จรติ เอเตนาติ จรณํ. จรฺ คติยํ, ยุ.
  5. ฉตฺตปณฺณ : (ปุ.) ต้นตีนเป็ด, ตีนเป็ด.
  6. ชฏา : (อิต.) ผมเกล้า, ผมที่เกล้า, เกล้าผม, มวยผม (ผมที่เกล้าเป็นมวยสูงขึ้น), ผม เกล้าของดาบส, เทริด ชื่อเครื่องประดับ ศรีษะ รูปมงกุฎอย่างเตี้ย มีกรอบหน้า, เชิง คือตีน ซึ่งเป็นฐานที่ตั้งของบางสิ่ง บางอย่าง ชายหรือปลายของบางสิ่ง บางอย่าง, ความยุ่ง, ความรุงรัง, ความรก, ชัฏ ( ป่ารก ป่าทึบ เชิง ), ชฎา ชื่อเครื่อง สวมศรีษะ คล้ายมงกุฎ. ชฏฺ ชฏเน สงฺฆาเต วา, อ. ส. ชฎา.
  7. โตมร : (ปุ.) หอก ( แทกตีนช้าง), หอกซัด, อาวุธสำหรับซัด,โตมร( สามง่ามที่มีปลอก รูปใบโพธิ์สวมอยู่). วิ. ตุชฺชติ อเนนาติ โตมโร.ตุท. พฺยถเน, อโร, ทสฺส โม, โอตฺตํ (แปลง อุ เป็น โอ ). ส. โตมร.
  8. ธารก : (ปุ.) การทรง, ฯลฯ, ความทรง, ฯลฯ, ความทนทานได้, เชิง (ตีนซึ่งเป็นฐานที่ ตั้งของ). ธาร+ก สกัด.
  9. นิคล : ป. เครื่องผูกตีนช้าง, โซ่ใส่ตีนช้าง, ปลอกตีนช้าง
  10. ปตฺตาธาร : (ปุ.) เชิงบาตร, ตีนบาตร.
  11. ปพฺพตปาท : ป. ตีนเขา, เชิงเขา
  12. ปาทคฺค : นป. ปลายเท้า, ปลายตีน
  13. ปาทคณฺฐี : อิต. ข้อเท้า, ข้อตีน
  14. ภารปาทตา : (อิต.) ตีนทู่, เท้าทู่, โรคตีนทู่, โรคเท้าทู่.
  15. มกร : (ปุ.) มังกร ชื่อสัตว์ในนิยายของจีน มีรูปร่างคล้ายงู แต่มีตีนมีเขา ชื่อดาวราสีที่ ๑๐. วิ. ปาณิคฺคหเณ มุขํ กิรตีติ มกโร. มุขปพฺโพ, กิรฺ วิกิรเณ, อ. ลบ ย แปลง อุ เป็น อ อิ ที่ กิ เป็น อ. เป็น มงฺกร บ้าง.
  16. สงฺขล : นป. เครื่องผูกตีนช้าง
  17. สตฺตปณฺณี : ป. ต้นตีนเป็ด
  18. เสรุส : (ปุ.) กระจับ ชื่อเครื่องผูกตีนม้าสำหรับหัดให้เต้น สะบัดตีน. สรฺ จินฺตายํ, อูโส, อสฺเส.
  19. อจฺฉตฺตปณฺณ : (ปุ.) ต้นตีนเป็ด.
  20. อนฺทุก : (ปุ.) ปลอกช้าง, เครื่องผูกตีนช้าง.ส. อนฺทุก.
  21. ตนุ : (อิต.) กาย, ร่างกาย, ตน, หนัง. วิ.ตโนติ สํสารทุกฺขนฺติ ตนุ. ตนุ วิตถาเร, อุ. รูปฯ ๖๓๕ ลง ณุ ปัจ. ไม่ทีฆะ. ไทยใช้ ดนุ เป็นสัพพนามแทนผู้พูด. ฉันข้าพเจ้าฯลฯ.
  22. ตนยา : (อิต.) ลูกหญิง, ลูกสาว.
  23. จิรนฺตน : (วิ.) ชั่วก่อน (ระยะก่อน), ชั่วเพรง (เพรง คือ ก่อนเก่า), ก่อน, มีในก่อน. วิ. จิรํ ภโว จิรนฺตโน. จิรํ+ตน ปัจ. แปลง นิคคหิตเป็น น. ฎีกาอภิฯ ว่า ลบนิคคหิต ถ้าถือตามมติฎีกาฯ ก็ต้องลง นฺ สังโยค หรือ นฺ อาคมหน้าปัจ.
  24. ปุราตน : (วิ.) เก่า, ก่อน, ฯลฯ. วิ. ปุรา ภโว ปุราตโน. ตน ปัจ. ตทัสสัตถิตัท. โมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๒๒. ดู ปุราณ(วิ.)
  25. สฺวาตน : (อัพ. นิบาต) มีในวันพรุ่ง วิ. เ สฺว ภวํ สฺวาตนํ. เ สฺว+ตน ปัจ. แปลง เอ เป็น อา รูปฯ ๔๐๗.
  26. หิยฺยตฺตน : (วิ.) เป็นในวันวาย, มีในวันวาน. วิ. หิยฺโย ภโว หิยฺยตฺตโน. ที่เป็นวิเสสนะ ของ อิต. เป็น หิยฺยตฺตนี. หิยฺย+ตน ปัจ.
  27. เกตน : (นปุ.) การกำหนด, การหมาย, ธง, บ้าน, เรือน, ที่อาศัย. กิตฺ ญาณนิวาเสสุ,ยุ.ส.เกตน.
  28. เขตต : (นปุ.) ภริยา, สรีระ, ตน, แดน, แคว้น, นา, ไร่, ไร่นา, ที่, ที่ดิน, ทุ่ง, ทุ่งนา, เขต. วิ. พีชานิ ขิปิยนฺตีติ เขตฺตํ. พีชานิ ขิปนฺตฺ- ยสฺมินฺติ วา เขตฺตํ. ขิปฺ เปรเณ, โต, ปการสฺส ตตฺตํ. ขิตฺตํ พิชํ มหปฺผลภาวกร- เณน ตายตีติ วา เขตฺตํ. ขิตฺตปุพฺโพ, ตา ปาลเน, โต, อิสฺเส, ตการทฺวยโลโป (ลบ ตฺต แห่ง ขิตฺต) ที่แปล เขตฺต ว่า ภริยานั้น เพราะเป็นที่งอกงามของพืช คือ บุตร. ส. กฺษตร.
  29. ธมฺมจกฺกปฺปวตฺตนสุตฺต : (นปุ.) ธรรมจัก- กัปปวัตตนสูตร ชื่อพระสูตรซึ่งพระพุทธ- เจ้าทรงแสดงครั้งแรกแก่พระเบญจวรรคีย์ เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ปฐมเทศนา.
  30. นฏน นฏฺฏ นตฺตน : (นปุ.) การฟ้อน, การรำ, การฟ้อนรำ, การเต้น, การเต้นรำ. ศัพท์ที่ ๑, ๒ นฎ นตฺยํ. ศะพท์ตัน ยุ ปัจ. ศัพท์ที่ ๒ อ ปัจ. และแปลง ฏ เป็น ฏฺฏ ศัพท์ที่ ๓ นตฺ คตฺตวิมาเน. ลง ย ปัจ. ประจำธาตุ และ ยุ ปัจ. นามกิตก์ แปลง ตฺย เป็น จฺจ ยุ เป็น อน. ส. นรฺตน, นฤดี.
  31. นิวตฺตน : (นปุ.) การหลับ, การหันกลับ, การหมุนกลับ. นิปุพฺโพ, วตฺต วตฺตเน, ยุ. ส. นิวรฺตฺตน.
  32. สรีร : (นปุ.) ร่าง (ตัว), กาย, ร่างกาย, ตัว, ตน, ตัวตน, สรีระ, วิ. สรตีติ สรีรํ. สรฺ คติยํ, อีโร. สรนฺติ วาตํ หึสนฺตีติ วา สรีรํ. สรฺ หึสายํ. อภิฯและฎีกาฯ ลงอีรปัจ. รูปฯ ลง อิร ปัจ. ทีฆะ.
  33. อตฺต อตฺร : (ปุ.) กาย, ร่างกาย, ตน, ตู(ตัว), ตัว, ตัวเอง, ตัวตน (ร่างกายและใจ). วิ. ทุกฺขํ อตติสตตํ คจฺฉตีติ อตฺตา (ถึงทุกข์เสมอ).อาหิโตอหํมาโน เอตฺถาติวา อตฺตา (เป็นที่ตั้งของมานะ).สุขทุกฺขํ อทติ ภกฺขติ อนุภาวตีติวาอตฺตา(เสวยสุขทุกข์).ชาติชรามรณาทีหิอาทียเต ภกฺขียเตติวา อตฺตา (อันชาติชราและมรณะเป็นต้น เคี้ยวกิน).ภววภวํธาวนฺโตชาติชรามรณาทิเภทํ อเนกวิหิตํสํสารทุกขํอตติสตตํคจฺฉติปาปุณาติอธิคจฺฉตีติวาอตฺตา.อตฺหรืออทฺธาตุตปัจ.ถ้าตั้งอทฺ ธาตุ แปลงทเป็น ต หรือ แปลง ต เป็น ตฺต ลบ ทฺศัพท์หลัง แปลง ต เป็น ตฺรลบที่สุดธาตุอตฺตศัพท์นี้ตามหลักบาลีไวยากรณ์เป็นเอก.อย่างเดียว ถ้าจะใช้เป็นพหุ. ต้องแปลซั้าสองหน หรือเขียนควบสองหนเช่น อตฺตโนอตฺตโนแต่คัมภีร์รูปสิทธิเป็นต้น แจกเป็นพหุ. ได้.แปลว่า จิตใจ สภาวะ และ กุสลธัมได้อีกอุ. อตฺตา หิกิรทุทฺทโมได้ยินว่าจิตแล(ใจแล) เป็นสภาพรักษาได้ยาก.แปลว่า หัวใจ อุ.ตถตฺตมีหัวใจเป็นอย่างนั้นมีพระทัยเป็นอย่างนั้น. แปลว่าปรมัตตะ หรือปรมาตมันตามที่ชาวอินเดียโบราณถือว่าเป็นสิ่งไม่ตาย รูปฯ๖๓๖ ลง มนฺ ปัจ. ลบ น.แปลง ม เป็น ต สูตรที่ ๖๕๖ ลง ต ตฺรณฺ ปัจ.ที่ลง ตฺรณฺปัจ.ลบที่สุดธาตุ แล้วลบณฺสฺอาตฺมนฺอาตฺมา.
  34. อนิวตฺตอนิวตฺตน : (วิ.) ไม่กลับ, ไม่หมุนกลับ, ไม่ท้อถอย.ส.อนิวรฺตอนิวรฺตน.
  35. อนิวตฺต อนิวตฺตน : (วิ.) ไม่กลับ, ไม่หมุนกลับ, ไม่ท้อถอย. ส.อนิวรฺต อนิวรฺตน.
  36. อนุวตฺตอนุวตฺตน : (นปุ.) ความคล้อยตาม, ความผ่อนตาม, ความเป็นไปตาม, ความเป็นไปสมควร, ความสมควร.ส.อนุวรฺตน.
  37. อนุวตฺต อนุวตฺตน : (นปุ.) ความคล้อยตาม, ความผ่อนตาม, ความเป็นไปตาม, ความเป็นไปสมควร, ความสมควร. ส.อนุวรฺตน.
  38. อากาสานญฺจายตนภูมิ : (อิต.) อากาสานัญจาย-ตนภูมิชื่อภูมิของอรูปพรหมที่๑.
  39. อากิญฺจญฺญายตนภูมิ : (อิต.) อากิญจัญญยตนภูมิชื่อภูมิของอรูปพรหมชั้นที่ ๓
  40. กนฺตน : (นปุ.) การตัด, การฆ่า, การแควะ, การควัก, การเชือด. กติ เฉทเน, ยุ.
  41. กปิตน : ป. มะสัง, ต้นหมาก
  42. กปิตน กปีตน : (ปุ.) มะสัง ชื่อต้นไม้ ต้นมี หนาม ใบคล้ายใบมะขวิด.
  43. กมฺมายตน : (นปุ.) หน้าที่การงาน.
  44. กายายตน : นป. สิ่งที่เป็นสื่อรับความรู้สึกจากภายนอกมาสู่กาย, สื่อทางกาย
  45. กิตฺตน : (นปุ.) การกำหนด, การสนทนา, การทัก อุ. นิมิตฺตกิตฺตนํ การทักนิมิต.
  46. กิตฺติน : (นปุ.) การระบุ, การบ่ง, การทัก. กิตฺต สํสนฺทเน, อิโน.
  47. คนฺธายตน : ป. อายตนะคือกลิ่น
  48. คพฺภปาตน : นป. การตกไปแห่งครรภ์, การแท้งลูก
  49. คุณกิตฺตน : นป. การพรรณนาคุณความดี
  50. โควิกตฺตน : นป. มีดหั่นเนื้อ
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-380

(0.0362 sec)