Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ทาง .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ทาง, 379 found, display 1-50
  1. นย : (ปุ.) ภาวะเป็นเครื่องนำไป วิ. นยติ เอเตนาติ นโย. ภาวะอัน... ย่อมนำไป วิ. นียตีติ นโย. การนำ, การนำไป, การดำเนินไป, การแนะนำ, การสั่ง, คำสั่ง, ความไป, ความเป็นไป, ความดำเนินไป, ความควร, ความสมควร, ความชอบ, ความถูกต้อง, ความสมเหตุสมผล, ความสมเหตุผล, ความคาดคะเน, อาการ, อุบาย, เล่ห์เหลี่ยม, วิธี, ทาง, แบบ, แบบอย่าง, นัย ( ข้อความข้อเค้า เค้าความใจความ เนื้อความ). วิ. นยนํ ปวตตนํ คมนํ วา นโย. นิ นี นย. วา นยเน, อ. ส. นย, นาย.
  2. นิยาม : (ปุ.) การกำหนด, ความกำหนด, เหตุ เป็นเครื่องกำหนด, ทาง, หนทาง, มรรค, แบบ, อย่าง, วิธี, ทำนอง. นิปุพฺโพ, ยมุ อุปรเม, โณ. ไทยใช้นิยามเป็นกิริยาใน ความหมายว่า กำหนดหรือจำกัดความหมายที่แน่นอน หรือให้ความหมายอย่าง กะทัดรัด.
  3. ปนฺติ : (อิต.) ราวป่า, แถว, แนว, ท่องแถว, สาย, บรรทัด, เส้นบรรทัด, ทาง, หนทาง, ลำดับ, แบบแผน, ระเบียบ, บาลี. ปนฺ วฺย วหาเร ถุติมฺหิ จ, ติ.
  4. มคฺค : (ปุ.) ถนน, หน (ทาง), ทาง, หนทาง, ช่อง, อุบาย, เหตุ (ใช้คู่กับคำว่าผล), มรคา, มรรคา, มรรค. วิ. ปถิเกหิ มชฺชเต นิตฺติณํ กรียเตติ มคฺโค. มชฺชฺ สํสุทฺธิยํ, โณ, ชสฺส คตฺตํ. ปถิเกหิ มคฺคียเตติ วา มคฺโค. มคฺคฺ อเนฺวส-เน, อ. ตํ ตํ กิจฺจํ หิตํ วา นิปฺผาเทตุกาเมหิ มคฺคียตี-ติ วา มคฺโค.
  5. รจฺฉา : (อิต.) ถนน, ทาง, ทางเดิน, ตรอก, รอย, รอยขีด. วิ. รถสฺส หิตา รจฺฉา รทียติ ปถิเกหีติ วา รจฺฉา. รทฺ วิเลขเณ, โฉ. รทิตพฺพาติ วา รจฺฉา, รทนํ วิเลขนํ วา รจฺฉา.
  6. วลญฺช : นป. รอย, เครื่องหมาย, ทาง
  7. อยน : (นปุ.) การไป, การถึง, ความเป็นไป, ทาง, หนทาง, ถนน.อยฺคติยํ, ยุ.ส. อยน.
  8. อสุ : (ปุ. อิต.) สาย, ด้าย, ขน, ทาง, เส้น, แถว, ข้อ, ข้อเล็กน้อย, ปลายเส้นด้าย, รัศมี, แสง, แสงสว่าง.อมฺคมเน, อุ, สฺอาคโม. ลบ มฺ นิคคหิตอาคม หรือแปลงมฺ เป็น นิคคหิต.
  9. อายน : (นปุ.) การมา, การมาถึง, ทาง, หนทาง, ความยึดหน่วง.อาปุพฺโพ, อิคติยํ, ยุ.ส.อายน.
  10. โอกาส : (ปุ.) ช่อง, ช่องเป็นที่ไถลง, ที่แจ้ง, ที่ว่าง, เหตุ, การณะ, เวลา, สถานที่, เทสะ, เอกเทศ, ทาง, ทนทาง. อวปุพฺโพ, กสฺ วิเลขเน, โณ. ไทย โอกาส (โอกาด) ใช้ ในความหมายว่า เวลาที่เหมาะสม เวลาที่เหมาะ ช่องที่เหมาะ อุ. ได้โอกาส การอนุญาต อุ. ให้โอกาส. ส. อวกาศ.
  11. คติ. : (อิต.) ภพเป็นที่ไปของสัตว์ (มีกามภพ เป็นต้น), ภูมิอันสัตว์พึงไป, ภูมิเป็นที่ไป ของสัตว์. วิ. สุกตทุกฺกตกมฺมวเสน คนฺตพฺ- พาติ คติ. ความหมดจด, ความสละสลวย, ความเป็นอยู่, ความรู้, ความสำเร็จ, ความตกลง(ลงเอย), ที่เป็นที่อยู่, ที่อาศัยแบบ, แบบอย่าง, ลักษณะ, กำเนิด, ความเกิด, คดี (เรื่อง ความที่ฟ้องร้องกันในโรงศาล), การส่ง, การไป, การเป็นไป, การดำเนิน, การดำเนินไป, การไป, การเคลื่อน, การถึง, การบรรลุ, ทาง, ทางไป, ทางดำเนิน, ทาง ดำเนินไป, อัชฌาสัย. วิ. คมนํ คติ. ส. คติ.
  12. ชงฺฆมคฺค : (ปุ.) ทางอันสัตว์ไปด้วยแข้ง, ทาง เท้า วิ. ชงฺฆาหิ คโต มคฺโค ชงฺฆมคฺโค.
  13. ทฺวิธาปถ ทฺวิปถ : (ปุ.) ทางสองแพร่ง, ทาง สองแยก.
  14. สนฺธิสิงฆาฏก : (นปุ.) ทางสามแพร่ง, ทาง สี่แพร่ง, ทางสีแพร่งและสามแพร่ง, ทางสามแยก, ทางสี่แยก.
  15. การก : (ปุ.) ผ้ากรองน้ำ, คนผู้ทำ. ทาง ไวยากรณ์ การกมี ๗ มีกัตตุการกเป็นต้น. ส. การก ผู้ทำ.
  16. จปุจปุ : (วิ.) จับๆ (จั๊บๆ). เสียงที่เกิดจากการเคี้ยวอาหารโดยมิได้หุบปาก ทาง พุทธศาสนาถือว่าเป็นกิริยาที่ไม่สุภาพ สุ ภาพชนไม่ควรทำ.
  17. จริต : (นปุ.) การเที่ยวไป (ของจิต) ความประ พฤติ, เรื่องราว, นิสัย, พื้น, พื้นเพ, พื้นเพ ของจิต, จริต, (พื้นเพของจิต ของแต่ละบุค คล ซึ่งจะหนักไปในทางใดทางหนึ่งในหก ทาง ดูจริต ๖ ในหลักธรรมะ) จรฺ จรเณ, โต, อิอาคโม.
  18. ญาติสาโลหิต : (ปุ.) พี่น้องผู้เกี่ยวเนื่องกันด้วย เลือด, พี่น้องผู้เกี่ยวเนื่องกันด้วยสายเลือด, พี่น้องผู้ร่วมสายเลือด, ญาติสาโลหิต, ญาติสายโลหิต ( ญาติที่ลืมสกุลมาโดยตรง ญาติสายโลหิตเดียวกัน ). คำ ญาติ ทาง ศาสนาหมายถึงคนที่ไม่ใช่สายเลือดเดียว กัน ก็ได้ ดังบาลีว่า วิสฺสาสาปรมา ญาติ ความคุ้นเคยชื่อว่าเป็นญาติอย่างยิ่ง. (ญาติ สนิท).
  19. ทฺวาร : (นปุ.) ประตู, ปาก, ช่อง, อุบาย, ทาง. ทฺวรฺ สํวรเณ, โณ, อภิธัมมวิภาวินีปท โยชนาเป็น ทฺวารฺ ธาตุ อ. ปัจ. เป็น ทฺวารา
  20. ทุคฺคม : (ปุ.) ทางเดินยาก, ทางกันดาร. วิ. ทุกฺเขน คจฺฉนฺตฺยเตฺรติ ทุคฺคโม. ทาง อัน...ไปได้โดยยาก. วิ. ทุกฺเขน คจฺฉิยเตติ ทุคฺคโม. ทุกฺขปุพฺโพ, คมฺ คมเน, อ.
  21. ทุหิติก : ค. (ทาง) ซึ่งไปได้ยาก, ซึ่งผ่านไปได้ยาก, ซึ่งไปลำบาก
  22. วตฺตนี : อิต. ทาง
  23. โองฺการ : (ปุ.) คำเปล่ง, โองการ (คำศักดิ์ สิทธิ์). อุจฺ สทฺเท, อาโร. พฤทธิ์ อุ เป็น โอ นิคคหิตอาคม แปลง จฺ เป็น ก ทาง พราหมณ์ (ฮินดู) หมายเอกพระเจ้าทั้ง ๓ คือ พระพรหม พระวิษณุ และ พระศิวะ.
  24. กกฺกฎกมคฺค : ป. ทางปูเดิน, รอยปู
  25. กฏฺฐ การ : (ปุ.) ช่างไม้ วิ. กฏฺฐํ กโรตีติ กฏฺฐ กาโร. ณ ปัจ. กฏฺฐ าริ (ปุ.อิต.) ผึ่ง ชื่อเครื่องมือสำหรับถาก ไม้ชนิดหนึ่ง รูปคล้ายจอบ ใส่ด้ามยาว สำหรับถือถาก ใบหนากว่าจอบ แต่โค้งงอ มาทางผู้ถือด้าม.
  26. กณฺหปฏิปทา : อิต. ปฏิปทาอันเลวทราม, ทางที่ชั่ว
  27. กนฺตารทฺธาน : นป. ระยะทางไกลอันข้ามได้ยาก, ทางกันดาร
  28. กนฺตารนิตฺถรณ : นป. การข้ามทางกันดาร
  29. กนฺตารปฏิปนฺน : ค. ผู้เดินทางกันดาร
  30. กนฺตารมคฺค : ป. ทางกันดาร, ทางเดินยาก
  31. กนฺตารมุข : ป. ปากทางกันดาร
  32. กมฺมกรณา : อิต. กรรมกรณ์, การลงโทษทางกาย, เครื่องทรมานทางกาย
  33. กมฺมคติ : (อิต.) ภูมิเป็นที่ไปแห่งกรรม, ความเป็นไปแห่งกรรม, ทางดำเนินแห่งกรรม, ส. กรฺมคติ.
  34. กมฺมฎฐ าน : (นปุ.) การตั้งอยู่แห่งการงาน, ที่ตั้งแห่งการงาน, อารมณ์เป็นที่ตั้งแห่ง การงาน, การงานอันเป็นที่ตั้งแห่งการบรรลุคุณวิเศษ, กัมมัฏฐาน กรรมฐานชื่อ ของการทำงานทางใจ มี ๒ อย่าง คือ สมถกัมมัฏฐาน ๑ วิปัสสนากัมมัฏฐาน ๑. วิ. กมฺมสฺส ฐานํ กมฺมฏฺฐานํ. กมฺมํ คุณวิเสสคมนสฺส ฐานํ กมฺมฏฐานํ วา. ซ้อน ฏฺ.
  35. กมฺมทฺวาร : นป. กรรมทวาร, ทางเกิดของกรรม
  36. กมฺมปถ : (ปุ.) ทางแห่งกรรม, ทางเกิดของ กรรม, คลองแห่งกรรม, กรรมอันเป็น คลอง, กรรมบถ ชื่อธรรมหมวดหนึ่งมี ๑๐ ข้อ มีทั้งฝ่ายกุศลและอกุศล.
  37. กมฺมวาจาจริย : (ปุ.) อาจารย์ผู้สวดกรรมวาจา คือคู่สวดรูปที่นั่งทางขวามือของอุปัชฌาย์.
  38. กลฺยาณาธิมุตฺติก : ค. ผู้มีจิตน้อมไปในทางที่ดีงาม
  39. กามมคฺค : ป. กามมรรค, วิถีทางเป็นที่ดำเนินไปเพื่อความใคร่, ช่องสังวาส
  40. กามสุข : นป. กามสุข, ความสุขทางกาม, โลกียสุข
  41. กามากาม : ค. ไม่มีความปรารถนาทางกาม
  42. กามานุสารี : ค. ผู้ระลึกถึงกามเป็นนิตย์, ผู้ใฝ่ใจในความสุขทางกาม
  43. กายกมฺม : (นปุ.) กรรมอันสัตว์ทำแล้วด้วยกาย, กรรมอันบุคคลทำแล้วด้วยกาย, วิ. กาเยน กตํ กมฺมํ กายกมฺมํ. การทำด้วยกาย วิ. กาเยน กมฺมํ กายกมฺมํ. กรรมอันไปแล้ว ในกายทวาร วิ. กายทฺวาเร ปวตฺตํ กมฺมํ กายกมฺมํ. กรรมทางกาย วิ. กาเยน กมฺมํ กายกมฺมํ. กายกรรม. กายกรรมที่ใช้ใน ภาษาไทย บางครั้งใช้ในความหมายว่าดัด ตนให้แข็งแรงด้วยท่าทางต่าง ๆ.
  44. กายคนฺถ : (ปุ.) กิเลสเป็นเครื่องร้อยรัดทางกาย.
  45. กายทณฺฑาทิวิรหิต : (วิ.) ผู้เว้นแล้วจากอาชญา มีอาชญาทางกายเป็นต้น.
  46. กายทฺวาร : (นปุ.) ทางแห่งกาย, ช่องแห่งกาย ช่องคือกาย, ทวารคือกาย, ทางกาย, กายทวาร.
  47. กายทุกฺข : นป. ทุกข์ทางกาย, ความลำบากกาย
  48. กายทุจฺจริต : (นปุ.) ความประพฤติชั่วอันสัตว์ ทำแล้วด้วยกาย, ความประพฤติชั่วอัน บุคคลทำแล้วด้วยกาย. วิ. กาเยน กตํ. ทุจฺจริตํ กายทุจฺจริตํ. ความประพฤติชั่ว ด้วยกาย, ความประพฤติชั่วทางกาย. วิ. กาเยน ทุจฺจริตํ กายทุจฺจริตํ.
  49. กายทุฏฐุลฺล : นป. ความประพฤติชั่วหยาบทางกาย
  50. กายปโกป, - ยปฺปโกป : ป. ความกำเริบทางกาย, ความประพฤติผิดทางกาย
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-379

(0.0304 sec)