Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ที่มา , then ทมา, ที่มา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ที่มา, 38 found, display 1-38
  1. อาสยานุสยญาณ : (นปุ.) ญาณอันเป็นไป ด้วยสามารถแห่งความรู้ซึ่งฉันทะเป็น ที่มา นอนและธรรมเป็นที่มานอนตาม, ญาณ (ความรู้) ในฉันทะเป็นที่มานอน และกิเลส อันนอนเนืองของสัตว์ ท., ญาณเป็นเครื่อง รู้ซึ่งฉันทะเป็นที่มานอน และกิเลสเป็นที่มา นอนตาม, ปัญญาหยั่งรู้ อัธยาศัยและอนุสัย ของสัตว์ท.
  2. กฏจฺฉุ : (ปุ.) จวัก ตวัก ของคำนี้เป็นชื่อของ เครื่องใช้สำหรับตักข้าวหรือแกง ทำด้วย กะลามะพร้าว มีด้ามไม้ยาวคล้ายทัพพี เรียกอีกอย่างหนึ่งว่าจ่า หรือกระจ่า, ทัพพี, ทรพี, ช้อน, ถ้วย. กฏฺ คติยํ, ฉุ, ทฺวิตฺตํ กฏจฺฉุ ที่มาคู่กับ ทพฺพิ ควรแปล กฏจฺฉุ ว่า ช้อน หรือ ถ้วย.
  3. กามาราม : ค. ผู้มีกามเป็นที่มายินดี, ผู้มีความยินดีในกาม
  4. คนฺธพฺพ : (ปุ.) สัตว์ผู้จะมาเกิดในครรภ์, ทารกที่มาเกิดในครรภ์. ไตร. ๑๒/ ๔๘๗, ๑๓/๕๗๑.
  5. จาตุรงฺคสนฺนิปาต : (ปุ.) การประชุมพร้อมด้วย องค์สี่, การประชุมประกอบด้วยองค์สี่, การประชุมมีองค์สี่. จาตุรงคสันนิบาตเป็น ชื่อของการประชุมในวันมาฆบูชาเมื่อพระ พุทธเจ้าตรัวรู้แล้วได้ ๙ เดือน องค์สี่คือ. – ภิกษุที่มาประชุม ๑๒๕๐ องค์ ล้วน เป็นพระอรหันต์ ภิกษุสงฆ์ทั้งหมดนั้นเป็นเอหิภิกขุ – อุปสัมปทา ภิกษุสงฆ์เหล่านั้นมากันเองโดยมิได้ นัดหมาย และ วันนั้นเป็นวันเพ็ญเดือนมาฆะ
  6. ทารุ : (นปุ.) ไม้, เปลือกไม้, ท่อนไม้, ชิ้นไม้, ไม้แห้ง, ฟืน. วิ. ทรียตีติ ทารุ. ทรียนฺเต เอเตหีติ วา ทารุ. วิ. หลังนี้ จากโมคฯ. ทรฺ วิทารเณ, ณุ. ทารุ. ที่มาคู่กับไม้ไม่มีแก่น แปล ทารุ ว่าไม้จริง (ไม้มีแก่น). ส. ทารุ
  7. ธมฺมาราม : (วิ.) มีธรรมเป็นที่มายินดี วิ. ธมฺโม อาราโม ยสฺส โส ธมฺมาราโม.
  8. นิทฺทรราม : (วิ.) มีความหลับเป็นที่มายินดี, ฯลฯ.
  9. ปฏิสลฺลานาราม : ค. ผู้มีการหลีกเร้นเป็นที่มายินดี, ผู้มีความพอใจในการหลีกเร้น
  10. โผฏฺฐพฺพ : (นปุ.) อารมณ์อันบุคคลพึงถูกต้อง, อารมณ์ที่มาถูกต้อง, สิ่งที่มาถูกต้อง, สิ่งที่มาถูกต้องกาย, สิ่งที่ถูกต้อง, สิ่งที่มาถูกต้องกาย, สิ่งที่ถูกต้องได้ด้วยกาย. สิ่งที่เย็น ร้อน อ่อน แข็ง ละเอียด หยาบ ซึ่งมากระทบกายกระทบผิวกาย เรียกว่า โผฏฐัพพะทั้งสิ้น. ผุสฺ สมฺผสฺเส, ตพฺโพ, สสฺส โฏ, ตสฺส โฐ.
  11. มานานุสย : (ปุ.) กิเลสเป็นที่มานอน คือ มานะ, กิเลสที่นอนเนื่องในสันดานคือมานะ.
  12. สมี : (อิต.) สมี (สะหมี) ชื่อต้นไม้ชนิดหนึ่งใช้ในพิธีพลีกูณฑ์. วิ. คณฺฑํ สเมตีติ สมี. สมุ อุปสเม. อี อภฯ ลง อิ ปัจ. คำ สมี(สะหมี) ในภาษาไทยใช้เรียกภิกษุผู้ต้องอาบัติปาราชิกไม่ใช้คำที่มาจากภาษามคธ.
  13. สโมสรณฏฐาน : (นปุ.) ที่เป็นที่มาประชุมกัน.
  14. สฬายตน : (นปุ.) เครื่องต่ออารมณ์ ๖ อย่าง, ที่เป็นต่อ ๖, ที่เป็นที่มาต่อ ๖, เครื่องติดต่อ ๖ อย่าง, อายตนะ ๖. ฉ+อายตน แปลง ฉ เป็น ส ฬฺ อาคม รูปฯ ๓๓๔.
  15. อชฺฌาสย : (ปุ.) ฉันทะมานอนทับซึ่งตน, ฉันทะเป็นที่มานอนทับ, ฉันทะเป็นที่มานอนทับแห่งจิตอันยิ่ง, สภาพอันอาศัยซึ่งอารมณ์เป็นไป, สภาพที่จิตอาศัย, ความมุ่งหมาย, ความพอใจ, ความจุใจ, ความเอาใจใส่, ความประสงค์, ความนิยม, อัชฌาสัย, อัธยาศัย (นิสัยใจคอ).วิ.จิตฺตมชฺฌาคนฺตฺวาสยตีติอชฺฌาสโย.อธิอาปุพฺโพ, สิปวตฺติยํ, อ.คำอัชฌาในวรรณคดี ตัดมาจากคำนี้.ส.อธฺยาศย.
  16. อภิสมาจาร : (ปุ.) ความประพฤติชอบยิ่ง, ความประพฤติอันดี, มารยาทอันดี, อภิสมาจารคือ ธรรมเนียมของภิกษุ ขนบธรรมเนียมของภิกษุมารยาทอันดีงามของภิกษุเป็นสิกขาบทที่มานอกพระปาติโมกข์ ปรับอาบัติ๒อย่างคือถุลลัจจัยมีห่าง ๆ และ ทุกกฏเป็นพื้น.
  17. อริ : (ปุ.) ข้าศึก. ศัตรู.วิ. อรติปจฺจตฺถิกภาวนฺติอริ.อรฺคมเน, อิ.อถวา.อรฺนาเส, อิ.อปฺปโกรูปาทิปญฺจกามคุณสํขาโต โร กาโมเอเตนาติอริ.อริที่มาคู่กับปุญฺญแปลว่าอริว่าปาบ.ส.อริ.
  18. อสฺสม : (ปุ.) ประเทศเป็นที่มารำงับความโกรธ.วิ. อา โกธํสเมนฺติเอตฺถาติอสฺสโม.ประเทศเป็นที่ยังราคาทิกิเลสให้ระงับวิ.อาภุโสสเมนฺติ ราคาทโย เอตฺถาติ อสฺสโม.อาปุพฺโพ, สมุ อุปสเม, อ, อาสฺสรสฺโส, สสฺสทฺวิตฺตํ.อาศรม (ที่อยู่ของฤาษี ที่อยู่ของนักพรต) วิ. มุนีนํอิสีนํวสนฏฺฐานํอสฺสโมนาม. บุคคลผู้ประพฤติพรหมจรรย์พรหมจารีบุคคล.ส.อาศฺรม.
  19. อาคม : (ปุ.) การมา, การมาถึง, นิกายเป็นที่มา, นิกายเป็นที่มาแห่งมรรคและผล, บาลี, พระบาลี, อาคม (การมาของอักษรคือการลงอักษรเป็นวิธีของบาลีไวยากรณ์อย่างหนึ่งศาสตร์ คัมภีร์มนต์ เวทมนต์).วิ.อาคมนํอาคโม.ส.อาคม.
  20. อาคมนกาล : (ปุ.) กาลเป็นที่มา, กาลเป็นที่มา.
  21. อาชีว : (ปุ.) ความเป็นอยู่, การเลี้ยงชีพ, การเลี้ยงชีวิต, อาชีพ(การทำมาหากิน), ธรรมเป็นที่มาเป็นอยู่. วิ.อาชีวนํอาชีโว.อาชีวติเอเตนาติอาชีโว.อาปุพฺโพ, ชีวฺปาณธาร-เณ, อ.ส.อาชีว.
  22. อาทิพฺรหฺมจริยก : ค. เป็นเบื้องต้นแห่งพรหมจรรย์, อันเกี่ยวกับสิกขาบทที่มาในพระปาติโมกข์
  23. อาทิพฺรหฺมจริยกาสิกฺขา : (อิต.) สิกขาอันเป็นเบื้องต้นแห่งพรหมจรรย์ได้แก่ พุทธบัญญัติที่ทรงตั้งไว้เป็นพุทธอาณาอันเป็นข้อบังคับโดยตรงซึ่งภิกษุต้องประพฤติปฏิบัติโดยเคร่งครัด คือสิกขาบทที่มาในพระปาติโมกข์
  24. อาธารก : (ปุ.) เชิงบาตรเป็นที่มาทรงไว้, เชิงบาตรเป็นที่รอง, เชิงบาตร.ส. อาธาร.
  25. อาปณ : (ปุ.) ที่เป็นที่มาเป็นไป, ร้านเป็นที่มาแผ่ร้านขายของ, ตลาด, ร้านตลาด, การค้าขายวิ. อาปณายนฺเตพฺยวหารยนฺเตอสฺมินฺติอาปโณ.อาปุพฺโพ, ปณฺวฺยวหาเร, โณ.เป็นนปุ.บ้าง.ส. อาปณ.
  26. อาปณิก : (ปุ.) บุคคลผู้อยู่ในร้านเป็นที่มาแผ่, คนผู้เป็นเจ้าของแห่งร้านตลาด, คนผู้ซื้อและขาย, พ่อค้า.ส. อาปณิก.
  27. อาปาถ : (ปุ.) คลองเป็นที่มาเป็นไป, คลอง.
  28. อาปาน : (นปุ.) ที่เป็นที่มาดื่ม, สถานที่เป็นที่มาดื่ม, สถานที่ดื่มเหล้า, การดื่ม, วิ.อาภุสํปิวนฺติยสฺมินฺติอาปนํ.อาคนฺตฺวาปิวนฺติเอตฺถาติวาอาปนํ.อาปุพฺโพ, ปาปาเน, ยุ.ส.อาปาน
  29. อาปานภูมิ : อิต. ภาคพื้นเป็นที่มาดื่ม, โรงสุรา
  30. อายตน : (นปุ.) ที่เป็นที่มาร่วมกัน, ที่เป็นที่มาประชุมกัน, ที่เป็นที่มาพร้อมกัน, ที่ประชุม, ที่เป็นที่ต่อ, ที่เป็นที่มาต่อ, แดนติดต่อกัน, เทวาลัย, ที่อยู่, ประเทศที่เกิด, บ้านเกิดเมืองนอน, บ่อ, บ่อเกิด, อากร, เหตุ, หมู่, ฝูง, ปทปูรณะ ( การทำบทให้เต็มให้สละสลวย), ลัทธิอุ.ติตฺถายตนํลัทธิเดียรถีย์.อาปุพฺโพตนุวิตฺถาเร, อ.อถวา, อาปุพฺโพ, ยตฺปยตเน, ยุ.ส. อายตน.
  31. อาโยธน : (นปุ.) ที่เป็นที่มารบ, การรบกัน, สนามรบ, สงคราม. วิ. อาทายยุชฺฌนฺเตตฺรา-ติอาโยธานํ.อาปุพฺโพ, ยุธฺสมฺปหาเร, ยุ.ส.อาโยธน.
  32. อารมฺมณ : (นปุ.) ธรรมชาติเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวของจิต, ธรรมชาติเป็นที่เหนี่ยวของจิต, ธรรมชาตเป็นที่มารื่นรมย์, ธรรมชาตเป็นที่ยินดีของจิต, เครื่องยึดเหนี่ยวของจิต, เครื่องยึดหน่วงแห่งจิต, ความคิด, ความรู้สึก, เหตุ, โคจร, นิสัยใจคอ ?, อารมณ์(ความเป็นไปแห่งจิตในขณะหนึ่งๆธรรมชาติที่เกิดขึ้นให้จิตรู้สึกสิ่งที่จิตรู้).วิ.อาคนฺตวาอาภุโสวาจิตฺตเจตสิกาธมฺมารมนฺติเอตฺถาติอารมฺมณํ.อาปุพฺโพ, รมฺรมเณ, ยุ
  33. อาราม : (ปุ.) อารมณ์เป็นที่มายินดี, ประเทศเป็นที่มายินดี, สวนเป็นที่มายินดี, สวนเป็นที่รื่นรมย์, อุทยาน, สวน, อาราม, วัด.วิ. อาค-นฺตฺวารมนฺติเอตฺถาติอาราโม.อาปุพฺโพ, รมุรมเณ, โณ.ส.อาราม.
  34. อาลาป : (ปุ.) การกล่าวในเบื้องต้นในกาลที่ ไปและกาลเป็นที่มา. วิ. อาทิมฺหิ คมนกาล- อาคมนกาเล ลาโป อาลาโป. การทักก่อน ให้น่ารักเมื่อไปและมา, การทักก่อน, การพูดก่อน, การทักทาย. วิ. อาทิมฺหิ ลาโป อาลาโป. อาทิโก วา อาลาโป อาลาโป. อาปุพฺโพ, ลปฺ วจเน, โณ. ส. อาลป.
  35. อาสย : (วิ.) เป็นที่มานอน, เป็นที่อาศัย.
  36. อิริยาปถ : (ปุ.) คลองเป็นที่มาเป็นไปแห่ง อวัยวะ อันบุคคลพึงให้หวั่นไหว, คลอง แห่งกิริยาอันบุคคลให้เป็นไป, ทางแห่ง ความเคลื่อนไหว, อาการเคลื่อนไหว, อิริยาบถ (การเคลื่อนไหว ยืน เดิน นั่ง นอน).
  37. โอปาน : (นปุ.) ที่เป็นที่มาดื่ม, บ่อ, สระ. ยุ ปัจ.
  38. อากาสคงฺคา : (อิต.) ลำน้ำในอากาศ, แม่น้ำในอากาศ. วิ.อากาเสสนฺทมานาคงฺคาอากาสคงฺคา.
  39. [1-38]

(0.0153 sec)