Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ธาร , then ธาร, ธารา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ธาร, 121 found, display 1-50
  1. ธาร, ธาร : ค. ดู ธร
  2. ติทิวา - ธาร : (ปุ.) ติทิวาธาระ ชื่อของเขาสุเมรุ ชื่อที่ ๓ ใน ๕ ชื่อ, เขาสุเมรุ. วิ. ติทิวานํ ทฺวินฺนํ เทวโลกานํ อาธาโร ปติฏฺฐาติ ติทิวาธาโร.
  3. ธาร : (ปุ.) การทรง, ฯลฯ, ความทรง, ฯลฯ, ความทนทานได้, เชิง (ตีนซึ่งเป็นฐานที่ ตั้งของ). ธาร+ก สกัด.
  4. คนฺธธาร : (ปุ.) คันธาระ ชื่อชนบทพิเศษของ อินเดียโบราณ วิ. คํ ปฐวึ ธาเรนฺตีติ คนฺธารา. กิตฺติคนฺเธน อรนฺตีติ วา คนฺธารา. เป็นชื่อของสระน้ำด้วย.
  5. กณฺณธาร : (ปุ.) คนที่อยู่มุมเรือ (ตอนหนึ่งของเรือ), คนถือท้ายเรือ, นายท้าย, นายเรือ. กณฺณปุพฺโพ, ธรฺ ธารเณ, โณ.
  6. กมฺมธาร : (วิ.) (สมาส) อันทรงไว้ซึ่งกรรม, อันทรงไว้ซึ่งของสองสิ่งเพียงดังกรรม. วิ. กมฺมมิว ทฺวยํ ธารยตีติ กมฺมธารโย.
  7. คนฺธาร : (ปุ.) คันธาระ ชื่อเสียงดนตรีอย่างที่ ๔ ใน ๗ อย่าง เสียงเหมือนแพะร้อง วิ. คนฺธ เลสํ อรตีติ คนฺธโร. คนฺธปุพฺโพ, อรฺ คติยํ, อ. คนฺธโร เอว คนฺธาโร.
  8. คนฺธารกาสาววตฺถ : (นปุ.) ผ้าอันบุคคลย้อมแล้ว ด้วยน้ำฝาดอันบังเกิดแล้วในเมืองคันธาระ. เป็นวิเสสนปุพ. กัม มี ณ ปัจ. ราคาทิตัท. และ ส. ตัป. เป็นภายใน.
  9. คนฺธารมฺมณ : ๑. นป. คันธารมณ์, อารมณ์คือกลิ่น, ความติดในกลิ่น ๒. ค. มีกลิ่น
  10. อุทฺธาร : (ปุ.) การยกขึ้น, การเดาะ (เกี่ยวกับ กฐิน), การให้ยืม, เงินค้าง, หนี้. อุปุพฺโพ, ธรฺ คหเณ, โณ. หรฺ หรเณ วา, หสฺส โธ. ส. อุทฺธาร. อุทฺธุมายิ
  11. ธาร : (อิต.) การทรง, การรับไว้, การหนุน, ความทรง, ฯลฯ, ความสืบต่อ, คม, คม ดาบ, สายฝน (ที่ตกหนัก), สายน้ำ, กระแสน้ำ, ลำธาร, ห้วย, หยาดน้ำ, ท่อ, ท่อน้ำ, ลำราง. วิ.เวคํ ธาเรตีตฺธารา. เป็น ปุ. บ้าง. ส. ธารา.
  12. กฐินุทฺธาร : ป. การรื้อไม้สะดึงออก เพราะกรานกฐินเสร็จแล้วหรือเพราะสามารถจะทำได้
  13. กุธาร : (ปุ.) ขวาน, ขวานถาก, ผึ่ง, ดู, กุฐารี ด้วย.
  14. ขุรธาร : (ปุ.) คมแห่งมีดโกน, คมมีดโกน.
  15. คงฺคาธาร : (ปุ.) มหาสมุทร, ทะเลหลวง, พระ ศิวะ.
  16. คุณธาร : (วิ.) ผู้ทรงไว้ซึ่งความดี, ผู้ทรงคุณ.
  17. จิตกาธาร : (ปุ.) เชิงตะกอน, ที่เผาศพ.
  18. ติทิวาธาร : ป. เขาพระสุเมรุ
  19. ถนธาร : (ปุ.) สายน้ำอันเกิดแต่ถัน, สาย น้ำนม.
  20. เทหธาร : นป. กระดูก
  21. ธมฺมาธาร : ค. ผู้ทรงธรรม, ผู้มีธรรม
  22. ธาร : (วิ.) ผู้ควรเพื่ออันทรงไว้. ณี ปัจ, ปัจ. รูปฯ ๖๔๓.
  23. ธาร : (ปุ.?) การดื่ม, การดูด, การดื่มนม, การดูดนม. เธ ปาเน, รุ, เอสฺส อาตฺตํ.
  24. ปณฺณธาร : ป. เครื่องรองทำด้วยใบไม้
  25. ปตฺตาธาร : (ปุ.) เชิงบาตร, ตีนบาตร.
  26. ปตฺตาธาร : นป. เชิงรองบาตร, ตีน, หรือฝาบาตร
  27. ปทุทฺธาร : ป. การยกบทขึ้นตั้งเพื่ออธิบาย
  28. พหิทฺธารมฺมณ : (นปุ.) อารมณ์เป็นภายนอก.
  29. พุทฺธารมฺมณ, พุทฺธาลมฺพน : ค. มีพระพุทธเจ้าเป็นอารมณ์
  30. มญฺจาธาร : (ปุ.) ขาเตียง. มญฺจ+อาธาร.
  31. สนฺธาร : ค. ผู้ทรงไว้, ผู้สอบทาน
  32. สุธาธาร : (ปุ.) พระจันทร์, ดวงจันทร์. สุธ+อาธาร.
  33. อปธาเรติ, อปธารยติ : ก.สังเกต, ขอร้อง, เชิญ
  34. อาธาร : (ปุ.) เชิงบาตรเป็นที่มาทรงไว้, เชิงบาตรเป็นที่รอง, เชิงบาตร.ส. อาธาร.
  35. อุกฺกาธาร : ป. ผู้ถือคบเพลิง
  36. อุทกธาร : (ปุ.) สายแห่งน้ำ, สายน้ำ, ท่อน้ำ, บ่อน้ำ.
  37. คพฺภร : (นปุ.) ถ้ำ, ซอกเขา, คูหา. คพฺภฺ ธาร- เณ, อโร. ครฺ เสจเน วา, ภโร, รสฺส พตฺตํ.
  38. ธาราสมฺปาต : ป. สายฝน, ฝนตกหนัก, ท่อธาร
  39. กกุธภณฺฑ : (นปุ.) กกุธภัณฑ์ ชื่อของใช้อัน เป็นเครื่องหมายแห่งความเป็นพระราชามี ๕ อย่างคือ มหาพิชัยมงกุฎ ๑ พระแสง ขรรค์ชัยศรี ๑ ธารพระกร ๑ วาลวีชนี ๑ ฉลองพระบาท ๑.
  40. กฐินุพฺภาร : ป. ดู กฐินุทฺธาร
  41. กนฺธรา : (อิต.) คอ วิ. กํ สีสํ ธรตีติ กนฺธรา. กปุพฺโพ, ธรฺ ธารเณ, อ, อิตฺถิยํ อา. อภิฯ ลง ณ ปัจ. ไม่ทีฆะ. ส. กนฺธร.
  42. ขนฺธ : (ปุ.) ขันธะ ขันธกุมาร ชื่อของขันธกุมาร ๑ ใน ๓ ชื่อ อีก ๒ ชื่อคือ กุมาร สตฺติธร. วิ. ขณฺฑติ ทานผลนฺติ ขนฺโธ. ขฑิ ขณฺเฑ, อ, ฑสฺส ธตฺตํ. ขํ สคฺคํ ธาติ วิทธาตีติ วา ขนฺโธ. ขปุพฺโพ ธา ธารเณ, อ, นิคฺคหิตา คโม.
  43. เขตฺตาชีว เขตฺตาชีวี : (ปุ.) ชาวนา (ผู้มีอาชีพ ทำไร่ทำนา), คนผู้เลี้ยงชีวิตด้วยที่ดิน. วิ. ตฺเตน ชีวตีติเขตฺตาชีโว. เขตฺตสทฺทุปฺปทํ, อาปุพฺโพ, ชีวฺ ปาณธารเณ, อ. ศัพท์หลัง ลง อี ปัจ.
  44. คพฺภ : (ปุ.) ท้อง ชื่อส่วนของร่างกายด้านหน้า ตั้งแต่ลิ้นปี่ลงไปจนถึงบริเวณต้นขา มี สะดืออยู่กลางมีกระเพาะและใส้อยู่ภายใน เรียกได้ทั้งของผู้หญิงและของผู้ชาย, ครรภ์ เรียกเฉพาะของผู้หญิง. คุ สทฺเท, อโภ, อุสฺส อตฺตํ, ทฺวิตฺตํ (แปลง อุ เป็น อ แปลง ภ เป็น พฺภ). ครฺ วา เสจเน, อโภ. แปลง รฺ เป็น พฺ หรือตั้ง คพฺภฺ ธารเณ, อ.
  45. ชิวฺหา : (อิต.) ลิ้น ( อวัยวะสำหรับลิ้มรส ) วิ. ชีวนฺติ เอตายาติ ชิวฺหา. ชีวิตนิมิตฺตํ รโส ชีวิตํ นาม, ตํ อวฺหยตีติ วา ชิวฺหา. ชีวฺ ปาณธารเณ, โห, รสฺสตฺตํ. ส. ชิวฺหา.
  46. ชีว : (ปุ.) อาตมะ, อาตมัน, พระพฤหัสบดี, สัตว์, ชน, คน, ความเป็นอยู่, ความมีชีวิต อยู่, ความเกิด, ชีพ (ความเป็นอยู่). ชีวฺ ปาณธารเณ, อ. ส. ชีว.
  47. ตรี : (ปุ. อิต.?) เครื่องนุ่งห่ม, ทางเดิน. ตรฺ ธารเณ, อี.
  48. ติโรธาน : (นปุ.) การปิด, การกำบัง. วิ. ติโร. ธรตีติ ติโรธานํ. ติโรปุพฺโพ, ธา ธารเณ, ยุ.
  49. ถูณ : (ปุ.) เสา, หลัก, หลักเป็นที่บูชายัญ. วิ. อภิตฺวียฺตีติ ถูโณ. ถุ ถู วา อภิตฺถเว, อูโณ. ธรฺ ธารเณ วา, ยุ, รฺโลโป, ธสฺส โถ, อสฺสุตฺตํ, ทีโฆ จ. ไม่ทีฆะเป็น ถุณ บ้าง.
  50. ทธิ : (นปุ.) นมส้ม, นมเปรี้ยว. วิ. ฆต มาทธาตีติ ทธิ. ธา ธารเณ, อิ. เท๎วภาวะ ธา รัสสะ แปลง ธ เป็น ท. สัททนีติ วิ. ชนสฺส ตุฏฺฐึ ทธเตติ มธฺ ธารเณ, อิ.
  51. [1-50] | 51-100 | 101-121

(0.0245 sec)