Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: นอน .

ETipitaka Pali-Thai Dict : นอน, 92 found, display 1-50
  1. ปสฺสุปติ : ก. หลับ, นอน, พักผ่อน
  2. ทุสฺสย : (วิ.) อัน...ย่อมนอนเป็นทุกข์, นอน เป็นทุกข์. วิ. ทุกฺเขน สียติ ทุสฺสโย. ข ปัจ. รูปฯ ๕๘๙.
  3. ตตฺถวฎฺฏก : (ปุ.) ตัตถวัฏฏกะ ชื่อคนที่บริโภค มากจนลุกไม่ขึ้น (นอน) กลิ้งเกลือกอยู่ ในที่นั้น.
  4. ธุว : (อัพ. นิบาต) เที่ยง, มั่นคง, ยั่งยืน, แน่- นอน.
  5. สมณโวหาร : (ปุ.) โวหารของสมณะ, โวหารอันควรแก่สมณะ, สมณโวหาร คือคำที่สำหรับใช้กับสมณะนั้นมีอีกประเภทหนึ่ง เช่นรับประทานข้าว ว่า ฉันจังหัน นอน ว่า จำวัด เป็นต้น
  6. สยติ : ก. นอน
  7. เสติ : ก. นอน
  8. เสยฺยาสน : (นปุ.) ที่นอนและที่นั่ง, ที่นอน ที่นั่ง. ไทยใช้เป็นกิริยาว่า นอน เช่น พระไสยาสน์ คือพระนอน.
  9. อิริยาปถ : (ปุ.) คลองเป็นที่มาเป็นไปแห่ง อวัยวะ อันบุคคลพึงให้หวั่นไหว, คลอง แห่งกิริยาอันบุคคลให้เป็นไป, ทางแห่ง ความเคลื่อนไหว, อาการเคลื่อนไหว, อิริยาบถ (การเคลื่อนไหว ยืน เดิน นั่ง นอน).
  10. อุสฺสีสก : (วิ.) อันเป็นไปในเบื้องบนแห่งศรีษะ, อันเป็นเบื้องบนแห่งศรีษะ (หัว นอน).
  11. กณฺฏกาปสฺสย : ป. เตียงนอนที่ทำด้วยหนังสัตว์มีหนามหรือตะปูแหลมรองรับอยู่เบื้องล่าง (เป็นวัตรของนักพรตเปลือยจำพวกหนึ่ง)
  12. กณฺฏกาปสฺสยิก : ค. ผู้นอนบนเตียงหนาม
  13. คุหาสย : (วิ.) มีถ้ำเป็นที่อยู่อาศัย วิ. คุหา อาสยา อสฺส อตฺถีติ คุหาสโย คุหาสยํ วา คุหาสยา วา. นอนอยู่ในถ้ำ วิ. คุหายํ สยตีติ คุหาสยํ (จิตฺตํ).
  14. ฉนฺท : (ปุ.) สภาพผู้อาศัยจิตนอนอยู่, ความตั้ง ใจ, ความพอใจ, ความชอบใจ, ความปรา- รถนา, ความต้องการ, ความอยาก, ความอยากได้, ความมุ่งหมาย, ความยินดี, ความรัก, ความรักใคร่, ความสมัคร, ความสมัครใจ, ความเต็มใจ, ความอยู่ในอำนาจ, อัธยาศัย, ตัณหา, พระเวท. ฉนฺทฺ อิจฺฉายํ, อ. ส. ฉนฺท. ฉนฺท ฉันท์ ชื่อคำประพันธ์อย่าง ๑ มีหลาย ชื่อ มีหลักการวางคำ ครุ ลหุ และจำนวน คำแต่ละบาทต่างๆ กัน วิ. วชฺชํ ฉาทยตีติ ฉนฺทํ. ฉทฺ สํวรเณ, อ, นิคฺคหิตาคโม. ส. ฉนฺทสฺ.
  15. ชาติภูมิ : อิต. ชาติภูมิ, ถิ่นที่เกิด, บ้านเกิดเมืองนอน
  16. ตุวฏ : (วิ.) รีบ, เร็ว, รวดเร็ว, พลัน, ด่วน. วิ. ตุริตภาวเน วฏฺฏตีติ ตุวฏํ. ตุริตปุพฺโพ. วฏฺฏฺอาวตฺตเน, อ, ริตโลโป, สํโยคโลโป จ. อภิฯ ตั้ง ตุวฏฺฏ ธาตุ ในความนอน ด้วย?เป็น ตุวฏฏ โดยไม่ลบ สังโยคบ้าง.
  17. ตุวฏฺฏติ : ก. นอนลง
  18. ถณฺฑิลสายิกา, - เสยฺยา : อิต. การนอนบนพื้นดิน
  19. ถนสิทารก : ป. ทารกผู้นอนดูดนม, เด็กกินนม
  20. ทิวาเสยฺยา : อิต. การนอนกลางวัน
  21. ทุกฺขเสยฺยา : อิต. การนอนอันเป็นทุกข์, การนอนไม่สบาย
  22. ทุสสย : (ปุ.) การนอนเป็นทุกข์.
  23. นิทฺทา : (อิต.) การหลับ, การนอน, การนอน หลับ, ความหลับ. นิปุพฺโพ, ทา สุปเน, อ. ทฺสํโยโค. นินฺทฺ ครหายํ วา, โท, นฺโลโป, อิตฺถิยํ อา. ส. นิทฺรา.
  24. นิทฺทายติ : ก. ประพฤติหลับ, หลับ, นอนหลับ
  25. นิทฺทายน : (นปุ.) การประพฤติซึ่งความหลับ (กำลังนอนหลับ), ความหลับ. นิทฺทา + อาย+ยุ ปัจ.
  26. นิทฺทายนกาล : (ปุ.) กาล เป็นที่ประพฤติซึ่ง ความหลับ (เวลากำลังนอนหลับ).
  27. นิทฺทายิตุ : ค. คนนอนหลับ
  28. นิทฺทาราม : ค. ผู้ยินดีด้วยการนอน, ผู้พอใจในการนอน
  29. นิทฺทารามตา : อิต. ความเป็นผู้ยินดีในการนอน, ความมักมากในการนอน
  30. นิทฺทารุกฺข : (ปุ.) ต้นไม้นอนหลับ, ความหลับ ของต้นไม้ (ความมืด กลางคืน).
  31. นิททาลุ : ค. ผู้มากด้วยการนอน, ผู้เห็นแก่นอน, ผู้นอนขี้เซา
  32. นิทฺทาลุ นิทฺทาลู นิทฺทาสีล : (วิ.) มีปกตินอน (นอนมาก), เกียจคร้าน. นิทฺทา+อาลุ, อาลู ปัจ. นิทฺทา+สีล. ส. นิทฺราลุ, นิทฺราศีล.
  33. นิปชฺชติ : ก. นอน, นอนลง, เอนกาย, หลับ
  34. นิปชฺชน : (นปุ.) การถึง, การนอน, นิปุพโพ, ปทฺ คติยํ, ยุ. ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ แปลง ทฺย เป็น ชฺช ยุ เป็น อน.
  35. นิปชฺชเปติ : ก. ให้นอน, ให้หลับ, ให้จมลง, ฝัง
  36. นิปชฺชา : (อิต.) การถึง, การนอน. วิ.นิปชฺชนํ นิปชฺชา. นิ ปทฺ+ณฺย ปัจ.
  37. นิปนฺน : ค. นอนแล้ว, หลับ
  38. นิปาตี : ค. ซึ่งตก, ซึ่งล้ม, อันเร่เข้าใส่, ซึ่งเข้านอน
  39. นิสาที : ค. ผู้นอน
  40. ปจลายติ : ก. ง่วงนอน, พยักหน้า, หงุบหงับ, เคลิ้มหลับไป
  41. ปพุชฺฌติ : ก. ตื่น, ตื่น (จากนอน), เข้าใจ, ตรัสรู้
  42. ภวราคานุสย : (ปุ.) กิเลสอันนอนเนื่องอยู่ในสันดาน คือ ความกำหนัดในภพ.
  43. มหิส : (ปุ.) สัตว์ผู้บูชาเจ้าของ, สัตว์ผู้นอนบนแผ่นดิน, ควาย, กระบือ, กาสร. มหฺ ปูชายํ, อิโส. มหีปุพฺโพ วา, สี สเย, อ, รสฺโส. ลงนิคคหิตอาคม เป็น มหึส บ้าง. เป็น มหีส เพราะไม่รัสสะอี ก็มี.
  44. มานานุสย : (ปุ.) กิเลสเป็นที่มานอน คือ มานะ, กิเลสที่นอนเนื่องในสันดานคือมานะ.
  45. ลาเลติ : ก. ทำให้สงบ, ปรบ, กล่อมให้นอน
  46. วาสาคาร : ป., นป. ห้องอยู่, ห้องนอน
  47. สมฺปริวตฺตสายี : (วิ.) ผู้นอนกลิ้งเกลือก.
  48. สย : (ปุ.) อันนอน, การนอน. วิ. สยนํ สโย.
  49. สยถุ : (วิ.) เกิดแล้วด้วยการนอน, เกิดด้วยการนอน. วิ. สเยน นิพฺพตฺโต สยถุ. สี สยเน, ถุ.
  50. สยน : (นปุ.) อันนอน, การนอน. วิ. สยนํ สยนํ. ที่เป็นที่นอน, ที่นอน. วิ. สยนฺตฺยตฺรติ สยนํ. ยุ ปัจ. การไป, การถึง, การเป็นไป, ความเป็นไป. สิ คติยํ ปวตฺตเน วา.
  51. [1-50] | 51-92

(0.0128 sec)