Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: นุ่ง , then นง, นุ่ง .

ETipitaka Pali-Thai Dict : นุ่ง, 65 found, display 1-50
  1. ปิฬยฺหติ : ก. ห่ม, คลุม, ปิด, นุ่ง, ประดับ
  2. กจฺฉพนฺธน : (นปุ.) ายกระเบน, หางกระเบน. โจงกระเบน เป็นชื่อชายผ้าที่ม้วนลอดขา แล้วเหน็บไว้ข้างหลัง การนุ่งผ้าแบบนี้เป็น ผืนผ้าธรรมดา กว้าง ๑ หลา ยาว ๒.๕๐ เมตร สำหรับคนเล็กเตี้ยถ้าเป็นคนสูงใหญ่ กว้าง ๑ x ๓ เมตร เอาผืนผ้าโอบรอบตัว จับชายผ้าให้เสมอกัน แล้วห้อยลง เอาหัว เข่าหนีบไว้มิให้ผ้าเลื่อน มือรีดผ้ามาถึงเอว รวบริมผ้าทำเป็นจุกไขว้กันแล้วเหน็บไว้ที่ สะดือ เรียกว่าพกแล้วจับชายผ้าที่หนีบไว้ ขึ้นมาม้วนขวา ค่อย ๆ ม้วน ม้วนไปรีดไป ให้แน่น พอผืนผ้ากระชัยตัวดีแล้ว ดึงลอด ขา โดยยกขาขวา หรือขาซ้ายขึ้นเล็กน้อย ดึงชายสุดที่ม้วนไว้ขึ้นเหน็บไว้ที่กลางหลัง เรียกผ้าที่ม้วนไปเหน็บไว้ อย่างนี้ว่า ชาย กระเบน หรือหางกระเบน.
  3. กณฺฑุปฏิจฺฉาทิ : นป. ผ้าสำหรับนุ่งปิดฝี
  4. กาสายวตฺถนิวตฺถ : (วิ.) ผู้นุ่งแล้วซึ่งผ้าอัน บุคคลย้อมแล้วด้วยน้ำฝาด, ผู้นุ่งห่มแล้วซึ่ง....
  5. กาสาวิย : ค. ผู้ครองผ้ากาสาวพัสตร์, ผู้นุ่งเหลืองห่มเหลือง
  6. เกสนิวาสี : ค. (เปรต) ผู้นุ่งผม, ผู้มีผมรุงรัง, ผู้มีขนที่ลับดก
  7. ขราชิน : นป. หนังสัตว์ขรุขระ เช่น เครื่องนุ่งห่มของฤษี
  8. ฆาสจฺฉาทน : นป. อาหารและเครื่องนุ่งห่ม
  9. จมฺมวาสี : (วิ.) ผู้นุ่งหนังสัตว์โดยปกติ, ผู้นุ่ง หนังเสือ (เหลือง) โดยปกติ, ผู้มีปกตินุ่ง หนังสัตว์.
  10. จมฺมสาฏก : ค., ป. (ปริพาชก) ผู้มีผ้าสาฏกทำด้วยหนัง, ผู้นุ่งห่มผ้าหนัง; ชื่อของปริพาชกคนหนึ่ง
  11. จีวร : (นปุ.) ผ้า วิ. จียตีติ จีวรํ. จิ จเย, อีวโร. ศัพท์จีวร นี้แปลว่าผ้า หมายถึงผ้าทุกชนิด ไทยนำคำจีวรมาใช้ออกเสียงว่า จีวอน ใช้ ในความหมาย ๒ อย่างคือหมายถึงผ้าของ ภิกษุทั้ง ๓ ผืน ได้แก่ ผ้านุ่ง ผ้าห่ม และ ผ้าสังฆาฏิ ได้ในคำว่า บาตรจีวร หรือไตร จีวรอย่าง ๑ หมายเอาเฉพาะผ้าห่มอย่าง เดียวได้ในคำว่า สบง จีวร สังฆาฏิ นี้อีก อย่าง ๑.
  12. จีวรลูข : ค. (ภิกษุ) ผู้ทรงผ้าจีวรอันเศร้าหมอง, ผู้นุ่งห่มผ้าจีวรสีปอนๆ
  13. เจล : นป. ผ้า, ผ้านุ่งผ้าห่ม
  14. เจลก : ค., ป. ผู้มีผ้า, ผู้นุ่งห่มผ้า; พนักงานเชิญธง
  15. ฉนฺน : (วิ.) สมควร, เหมาะสม, นุ่งห่ม, ปกปิด, กำบัง, ปิดบัง, ซ่อนเร้น, เงียบ, วังเวง, สงัด, ลับ. ฉทฺ สํวรเณ, โต. แปลง ต เป็น นฺน ลบที่สุดธาตุ กัจฯ และรูปฯ แปลง ต เป็น อนฺน ลบที่สุดธาตุ อภิฯ แปลง ต กับที่สุด ธาตุเป็น อนฺน.
  16. ฉินฺนวาสนาปารุปน : (วิ.) ผู้มีผ้าสำหรับนุ่งและ ผ้าสำหรับห่มอันขาดแล้ว.
  17. ตรี : (ปุ. อิต.?) เครื่องนุ่งห่ม, ทางเดิน. ตรฺ ธารเณ, อี.
  18. ติจีวร : (นปุ.) ผ้าสามผืน, ผ้าไตร, ไตรจีวร. เครื่องนุ่งห่มของพระมี ๓ ผืน ได้แก่ สบง ผ้าสำหรับนุ่ง ๑ จีวรผ้าสำหรับห่ม ๑ สังฆาฏิ ผ้าซ้อนนอกสำหรับกันหนาว หรือผ้าทบ ๑ มีพระบรมพุทธานุญาตให้ ภิกษุมีผ้าสามผืนเท่านี้ ผ้านอกนี้จะมีไว้ใช้ ต้องใช้กับของวิกัป.
  19. เตจีวร : นป. ไตรจีวร; สังฆาฏิ (ผ้าพาด), อุตตราสงค์ (ผ้าห่ม), อันตรวาสก (ผ้านุ่ง)
  20. ทิคมฺพร : (ปุ.) คนผู้มีผ้าคือทิศ, คนนุ่งทิศ, คนเปลือย, นิครนถ์. วิ. ทิสา เอว อมฺพรํ วตฺถํ, น ปกติวตฺถ เมตสฺสาติ ทิคมฺพโร. แปลง ส เป็น ค. ส. ทิคมฺพร.
  21. ทุกฺกฎ : (นปุ.) กรรมอัน...ทำชั่วแล้ว, กรรม ชั่ว, การทำเสีย, ความชั่ว, บาป, ทุกกฎ ชื่ออาบัติกองที่ ๖ เป็นอาบัติเบา แม้จะ เป็นอาบัติเบา ภิกษุ-สามเณรล่วงบางข้อ ก็ทำให้ศรัทธาของพระพุทธศาสนิกชนตกไปได้ เช่น นุ่งห่มไม่เรียบร้อย พูดจาไม่สำรวม เป็นต้น พึงระวัง. ศัพท์เป็น ทุกฺกต แปลง ต เป็น ฏ.
  22. ทุสฺสคหณมงฺคล : นป. พิธีมงคลเสื้อผ้า, พิธีมงคลนุ่งห่มผ้าใหม่
  23. นิจฺโจล : ค. ปราศจากเครื่องนุ่งห่ม, ผู้ไม่มีเสื้อผ้า, ผู้เปลือยกาย
  24. นิวตฺถ : กิต. นุ่งห่มแล้ว
  25. นิวตฺถปารุปนมตฺต : (วิ.) สักว่าผ้าอันบุคคล นุ่งแล้วและผ้าสำหรับห่ม. เป็น สัม. กัม. มี ส. ทวัน. เป็นท้อง.
  26. นิวตฺถปิโลติกขณฺฑ : (นปุ.) ท่อนแห่งผ้าเก่า อันบุคคลนุ่งแล้ว. เป็น ฉ. ตัป, มี วิเสสน- บุพ. กัม. เป็นท้อง.
  27. นิวสน : (นปุ.) การนุ่ง, การห่ม, การนุ่งห่ม. นิปุพฺโพ, วสฺ อจฺฉาทเน, ยุ. ส. นิวสน.
  28. นิวาเสติ : ก. ประดับ, ตกแต่ง, แต่งตัว, นุ่งห่มให้อยู่
  29. นิวาเสตุ : อ. (ปฐ., จตุ) การนุ่งห่ม, เพื่อนุ่งห่ม
  30. ปฏิจฺฉาท : ป. การปกปิด, การปิดบัง, การซ่อนเร้น, การอำพราง, การล่อลวง, เครื่องปกปิด, เครื่องนุ่งห่ม, การนุ่งห่ม
  31. ปฏิจฺฉาเทติ : ก. ปกปิด, ปิดบัง, ซ่อนเร้น, อำพราง, นุ่งห่ม, พัน, ปิด, รักษา (แผล); กลบเกลื่อน, ทำให้สับสน, อำพราง (ปัญหา)
  32. ปฏินิวาสน : นป. ผ้านุ่งห่มที่ให้ตอบแทน, ผู้นุ่งที่ผลัดออก
  33. ปธาริต : กิต. (อันเขา) ทรงนำไว้แล้ว; (อันเขา) นุ่งห่มแล้ว
  34. ปธาเรติ : ก. ทรงจำ; นุ่งห่ม
  35. ปริทหติ : ก. ใส่, นุ่งห่ม
  36. ปารุต : ค. อันเขาปกปิดแล้ว, อันเขานุ่งห่มแล้ว
  37. ปารุปติ : ก. ปกปิด, นุ่งห่ม, ซ่อน
  38. ปารุปน : นป. การนุ่งห่ม, ผ้าห่ม, เสื้อคลุม
  39. ปีตนฺตร : นป. เครื่องแต่งกายสีเหลือง, ผ้านุ่งสีเหลือง
  40. ภูสา : (อิต.) เครื่องประดับ, เครื่องแต่งตัว, เครื่องอาภรณ์, เครื่องนุ่งห่ม, ผ้านุ่ง, ผ้าห่ม, ผ้าทรง. ภูสฺ อลงฺกาเร, อ, อิตฺถิยํ อา.
  41. วกฺกลี : ค. ผู้นุ่งห่มผ้าที่ทำด้วยเปลือกไม้
  42. วาส : ป. การอยู่, ที่อยู่, เครื่องนุ่งห่ม, เครื่องหอม, น้ำหอม, ผ้า
  43. วาสน : นป. การนุ่งห่ม, การอบ, เครื่องอบ
  44. สีลวติ : (อิต.) ชี ชื่อของหญิงนักบวชโกนผม โกนคิ้วนุ่งห่มผ้าขาว ถือศีล ๘ เป็นนิจศีล.
  45. สุวสน : (วิ.) นุ่งห่มผ้าอันงาม. สุนฺทร+วตฺถ+วสน.
  46. อจฺฉาทน : (วิ.) บัง, กำบัง, ปกปิด, นุ่งห่ม, แต่งตัว.
  47. อจฺฉาเทติ : ก. นุ่งห่ม, ปกปิด
  48. อชินสาฏิ : อิต. เครื่องนุ่งห่มทำด้วยหนังสัตว์
  49. อชินสาฏี : (ปุ.) ฤาษี(ผู้นุ่งห่มผ้าขนสัตว์).อชิน+สาฏ+อีปัจ.
  50. อนฺตรวาสก : (ปุ.) ผ้านุ่ง, สบง, ผ้าสบง (ผ้านุ่งของภิกษุ สามเณร).วิ.อนฺตเรมชฺเฌวาโสอนฺตรวาสโก.กสกัด.
  51. [1-50] | 51-65

(0.0087 sec)