Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: นูน , then นน, นุน, นูน .

ETipitaka Pali-Thai Dict : นูน, 38 found, display 1-38
  1. นูน : อ. แน่
  2. ผุฏ : (วิ.) สูง, นูน, สูงขึ้น, นูนขึ้น, ฝัด, โปรย. ผุ อุนฺนเต, โต, ตสฺส โฏ.
  3. นูน : (วิ.) ทั้งหมด ท้งมวล, ทั้งปวง, ทั้งสิ้น.วิ.น อูนมสฺมินฺติอนูนกํ.ก ปัจ.
  4. ยนฺนูน : (อัพ. นิบาต) ไฉนหนอ, ถ้ากระนั้น, ถ้ากระไร, กระไรหนอ, อะไรหรือแล, ผิฉะนั้น, ผิดังนั้น, อย่ากระนั้นเลย.
  5. นูน : (วิ.) ไม่ย่อหย่อน, ไม่พร่อง, เต็ม.
  6. นูนตา : อิต. ความไม่บกพร่อง, ความไม่ขาด
  7. กาฬโรค : (ปุ.) โรคดำ, กาฬโรคชื่อโรคระบาด ร้ายแรงชนิดหนึ่งมักมีการบวมนูนที่รักแร้ เป็นต้น.
  8. ขคฺค : (ปุ.) กระบี่, ดาบ, พระขรรค์ ชื่อศัตราวุธ ชนิดหนึ่ง มีคมสองข้าง กลางของความกว้างนูน ปลายแหลม, พระขรรค์ชัยศรี. คำชัยศรีเป็นคำใช้ประกอบชื่อของสิ่งต่างๆ ที่ถือว่าเป็นมงคล. ขคฺคฺ ขณฺฑเภเท, อ. ส. ขฑฺคฺ.
  9. ทนฺตภาค : (ปุ.) กระพองช้าง ( ส่วนที่นูนเป็น ปุ่มสองข้างศีรษะช้าง). ตะพอง ก็เรียก.
  10. โผฏ : (วิ.) นูน, บวม, ฟกช้ำ, แตก. ผุฏฺ อนฺนตสํสิเลสนเภทเนสุ, โณ.
  11. พุพฺพุฬ พุพฺพุฬก : (นปุ.) ฟองน้ำ, เม็ดนูนแดงซึ่งขึ้นตามผิวหนัง.
  12. มาตงฺคมุทฺธปิณฺฑ : (ปุ.) น้ำเต้าแห่งช้าง ชื่อ อวัยวะส่วนนูนที่อยู่โคนงวงช้าง.
  13. หตฺถินข : (ปุ.) ปราสาทตั้งอยู่บนกระพองช้าง กระพอง คือ ส่วนที่นูนเป็นปุ่มสองข้างที่ศรีษะช้าง กะพอง ตระพอง ตะพอง ก็ว่า. วิ. หตฺถิกุมฺภมฺหิ ปติฎฐโต นโข หตฺถินโข. ปาสาโท เอว นโข.
  14. อสกูฏ : (ปุ.) จะงอยบ่า, หัวไหล่ก็แปล. ส. อํสกูฏหนอก, เปลี่ยวโค (เนื้อที่นูนขึ้นที่คอ).
  15. ธุ (ธู) นน : นป. การสบัด, การหวั่นไหว, การกำจัด, การทำลายละ (กิเลส)
  16. นนุ : (อัพ. นิบาต) อะไร, อย่างไร, อย่างไรสิ, มิใช่หรือ, บ้างหรือหนอ. ส. นนุ.
  17. อชานน : ป., นป. ความไม่รู้, อวิชชา
  18. กุญฺจิต : (วิ.) คด, โค้ง, โกง, งอ, ปิด, แนบ, แน่น, สนิท.
  19. กุฏุกุญฺจก : ค. ใกล้ชิด, กระชับ, แน่น
  20. ขินฺน : (วิ.) ลำบาก, เหน็ดเหนื่อย, เป็นทุกข์. ขิทิ ทีนิเย, โต. แปลง ต เป็น นฺน ลบ ที่สุดในธาตุ.
  21. คาฬฺห : (วิ.) มั่น, แน่น, แน่นอน. คหฺ อุปา ทาเน, โต. กัจฯ ๕๘๔ แปลง ต เป็น ห แปลงที่ สุดธาตุเป็น ฬ. บาลีไวยากรณ์แปลง ต เป็น ฬฺห ลบที่สุดธาตุ.
  22. ฉนฺน : (วิ.) สมควร, เหมาะสม, นุ่งห่ม, ปกปิด, กำบัง, ปิดบัง, ซ่อนเร้น, เงียบ, วังเวง, สงัด, ลับ. ฉทฺ สํวรเณ, โต. แปลง ต เป็น นฺน ลบที่สุดธาตุ กัจฯ และรูปฯ แปลง ต เป็น อนฺน ลบที่สุดธาตุ อภิฯ แปลง ต กับที่สุด ธาตุเป็น อนฺน.
  23. ชณฺณุ ชณฺณุก : (นปุ.) เข่า, หัวเข่า. วิ. ชายติ คมน เมเตนาติ ชณฺณุ, ชนฺ ปาตุภาเว, ณุ. แปลง นฺ เป็น นฺน แล้วแปลงเป็น ณฺณ ศัพท์หลัง ก สกัด ใช้ ชนฺนุ เป็นส่วนมาก.
  24. ตุณฺณวาย ตุนฺนวาย : (ปุ.) ช่างเย็บ, ช่างชุน. วิ. ตุนฺนํ อวายิ วายติ วายิสฺสตีติ ตุนฺนวาโย. ตุนฺนปุพฺโพ, วา คนฺธเน ( ตัด แทง) , อ. แปลง อา ที่ธาตุเป็น อาย หรือ ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ ก็ไม่ต้องแปลง อา หรือ ตั้ง เว ตนฺตุสนฺตาเน, โณ. แปลง เอ เป็น อาย ศัพท์ต้น แปลง นฺน เป็น ณฺณ.
  25. ตุลิกา : (อิต.) นุ่น, ฟูกอันบุคคลยัดแล้วด้วย นุ่น, ฟูกยัดนุ่น.
  26. ตูล : (ปุ. นปุ.) นุ่น, สำลี, ฝ้าย. ตูลฺ นิกฺกรีเส, อ.
  27. เตล : (นปุ.) น้ำมัน, ( ที่ได้จากพืชและเนื้อสัตว์ ไขสัตว์) , น้ำมันงา ( ได้จากงา ). ติลฺ สิเนหเณ, โณ. แปลว่า สำลี นุ่น ฝ้าย ก็มี. ส. ไตล.
  28. ถทฺธ : (วิ.) ดื้อ, ดื้อด้าน, ดื้อดึง, แข็ง, กระด้าง, แข็งกระด้าง, แน่น, แน่นหนา, มั่น, ตระหนี่, หยิ่ง, เย่อหยิ่ง. ถภิ ปติพนฺธเน, โต. แปลง ต เป็น ทฺธ ลบที่สุดธาตุ.
  29. นินฺนาท : (ปุ.) การกึกก้อง,การบันลือ,ความ กึกก้อง, ความบันลือ, ความเกรียวกราว, เสียงกึกก้อง, เสียงบันลือ, เสียงสะท้าน, เสียงเกรียวกราว, นินาท, นฤนาท. วิ. ปุนปฺนปุนํ นาโท นินฺนาโท แปลง น เป็น นฺน แปลง อ ที่น ตัวต้นเป็น อิ ลงนิคคหิต อาคม แล้วแปลงเป็น นฺ.
  30. ปรณฺณ : (นปุ.) พืชอื่นจากข้าว ( คือถั่ว ), ถั่ว ( ต่างๆ ). ปร+อนฺน แปลง นฺน เป็น ณฺณ.
  31. ปุพฺพณฺณ : (นปุ.) ของที่กินก่อน, ปุพพัณชาต. ปุพพัณชาต ได้แก่ ธัญชาติ ๗ อย่าง คือ. ๑. สาลี ข้าวไม่มีแกลบ ๒. วีหิ ข้าวเปลือก ๓. กุทฺรุสโก หญ้ากับแก้ ๔. โคธุโม ข้าวละมาน ๕. วรโก ลูกเดือย ๖. ยโว ข้าวเหนียว และ ๗. กงฺคุ ข้าวฟ่าง. ไตร ๓๐ ข้อ ๗๖๒. วิ. อปรนฺนสฺส ปุพฺเพ ปวตฺตํ อนฺนํ ปุพฺพนฺนํ. แปลง นฺน เป็น ณฺณฺ อภิฯ เป็น ปุพฺพนฺน.
  32. สมฺพาธ : (วิ.) แคบ, คับแคบ, เบียดเสียด, ยัดเยียด, แน่น, อัดแอ, แออัด.
  33. อติสมฺพาธ : ค. แคบยิ่ง, แคบมาก, แน่น
  34. อมุ, อมุก : ส. โน่น, โน้น
  35. อุสฺส อุสฺสนฺน : (วิ.) หนา, หนาขึ้น, มาก, สูง, สูงขึ้น. อุปุพฺโพ, สทฺ วิสรเณ, อ, สฺสํโย โค, ทฺโลโป. ศัพท์หลังลง ต ปัจ. แปลง ต เป็น นฺน ลบ ท.
  36. เอตฺตาวตก : (วิ.) มีประมาณเท่านี้, มีประมาณ เท่านั้น. วิ. เอตํ ปริมาณ มสฺสาติ เอตฺ ตาวตโก. เอต+อาวตก ปัจ. ซ้อน ต. คำ แปลแรกเป็น เอต ที่แปลงมาจาก อิม คำ แปลหลังเป็น เอต ที่แปลว่า นั่น, นั้น.
  37. เอว : (อัพ. นิบาต) เทียว, แล, นั่นเทียว, นั่น แล, นั่นเอง, อย่างเดียว, ทีเดียว, เท่านั้น, ทั้งนั้น, แน่นอน, แน่ละ, นั่นแหละ, นี่ แหละ, สักว่า, คือ, แน่, เด็ดขาด, ไม่เว้นละ.
  38. เอโส : ค. นี้, นั่น, นั้น
  39. [1-38]

(0.0078 sec)