Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: บาตร , then บาตร, ปาตร .

ETipitaka Pali-Thai Dict : บาตร, 46 found, display 1-46
  1. ถลิ : (อิต.) หม้อ, หม้อข้าว, บาตร, ถ้วย. ถลฺ ฐาเน, อิ.
  2. ถาลิก : (ปุ.) หม้อ, หม้อข้าว, บาตร, กระถาง, ถลฺ ฐาเน, อิ, อี.
  3. ถาลิ ถาลิกา ถาลี : (อิต.) หม้อ, หม้อข้าว, บาตร, กระถาง, ถลฺ ฐาเน, อิ, อี.
  4. ปาติ : ๑. อิต. ถาด, ถ้วย, จาน, บาตร; ๒. ก. เลี้ยง, รักษา, คุ้มครอง
  5. ปิสีล : นป. หน้าปัดนาฬิกา, ถาด, บาตร
  6. ถูปิกต, - ปึกต : ค. ซึ่งถูกทำให้เป็นยอด, ซึ่งพูนล้น (บาตร)
  7. กาจ : (ปุ.) สาแหรก, จักษุโรค (โรคตาชนิด หนึ่ง), กระจก กาจมโย ปตฺโต ธาเรตพฺโพ. ภิกษุไม่พึงใช้บาตรกระจก ไตร. ๗ / ๓๔. โบราณแปลว่าแก้วหุง. กจฺ พนฺธเน, โณ.
  8. จีวร : (นปุ.) ผ้า วิ. จียตีติ จีวรํ. จิ จเย, อีวโร. ศัพท์จีวร นี้แปลว่าผ้า หมายถึงผ้าทุกชนิด ไทยนำคำจีวรมาใช้ออกเสียงว่า จีวอน ใช้ ในความหมาย ๒ อย่างคือหมายถึงผ้าของ ภิกษุทั้ง ๓ ผืน ได้แก่ ผ้านุ่ง ผ้าห่ม และ ผ้าสังฆาฏิ ได้ในคำว่า บาตรจีวร หรือไตร จีวรอย่าง ๑ หมายเอาเฉพาะผ้าห่มอย่าง เดียวได้ในคำว่า สบง จีวร สังฆาฏิ นี้อีก อย่าง ๑.
  9. ตุจฺฉปตฺตหตฺถ : (วิ.) ผู้มีบาตรเปล่าในมือ วิ. ตุจฺโฉ ปตฺโต ตุจฺฉปตฺโต.ตุจฺฉปตฺโตหตฺเถสุ ยสฺส โส ตุจฺฉปตฺตหตฺโถ.
  10. ถวิกา : (อิต.) ถุง, ถลก, ถลกบาตร. ถวฺ คติยํ, อิโก.
  11. ทฺวติปตฺต : (ปุ.) บาตรสองหรือบาตรสาม, สองบาตรหรือสามบาตร, สองสามบาตร, วิ. ทฺวิปตฺตา วา ติปตฺตา วา ทฺวติปตฺตา.
  12. ทารุปตฺต : นป. บาตรไม้, บาตรทำด้วยไม้
  13. ทารุปตฺติก : ค. ผู้มีบาตรทำด้วยไม้, ผู้ใช้บาตรในการขอภิกษา
  14. ปตฺตก : นป. ภาชนะหรือบาตรเล็ก
  15. ปตฺตกณฺโฑลิกา : อิต. หม้อเก็บบาตร, กระชุสำหรับเก็บบาตร, เชิงรองบาตร
  16. ปตฺตคต : ค. ซึ่งอยู่ในบาตร
  17. ปตฺตคาห : (ปุ.) การถือบาตร, การประคองบาตร การอุ้มบาตร
  18. ปตฺตคาหก : ป. ผู้ถือเอาบาตร, คนรับบาตร
  19. ปตฺตคาหาปก : ป. ภิกษุผู้เป็นปัตตคาหาปกะ, ภิกษุผู้มีหน้าที่แจกบาตร
  20. ปตฺตจีวร : นป. บาตรและจีวร
  21. ปตฺตถวิกา : อิต. ถุงบาตร, ถลกบาตร
  22. ปตฺตโธวน : (นปุ.) น้ำสำหรับล้างซึ่งบาตร, น้ำล้างบาตร.
  23. ปตฺตปาณี : ค. ผู้มีบาตรในมือ, ผู้ถือบาตร
  24. ปตฺตปิณฺฑิก : ป. ภิกษุผู้ถือฉันอาหารเฉพาะในบาตรเป็นวัตร
  25. ปตฺตปิณฺฑิกงฺค : (นปุ.) องค์แห่งภิกษุผู้มีการถือเอาอาหารในบาตรเป็นวัตร, องค์แห่งภิกษุผู้ถือการฉันอาหารในบาตรเป็นวัตร, องค์แห่งภิกษุผู้ถือการฉันเฉพาะในบาตร เป็นวัตร, ปัตตปิณฑิกังคะ ชื่อธุดงค์อย่างที่ ๖ ในธุดงค์ ๑๓.
  26. ปตฺตปิธาน : (นปุ.) วัตถุสำหรับปิดซึ่งมาตร, ฝาบาตร.
  27. ปตฺตปูฏ : (ปุ.) ห่อแห่งใบ, ถุงบาตร, ถลกบาตร.
  28. ปตฺตมณฺฑล : นป. บริเวณก้นบาตร, ก้นบาตร
  29. ปตฺตมาฬก : ป. แท่นเก็บบาตร, เชิงบาตร
  30. ปตฺตมูล : นป. ก้นบาตร
  31. ปตฺตวฏฺฏิ : อิต. ขอบบาตร
  32. ปตฺตสญฺญี : ค. ผู้มีความสำรวมในบาตร
  33. ปตฺตาธาร : (ปุ.) เชิงบาตร, ตีนบาตร.
  34. ปตฺตาธารก : นป. เชิงรองบาตร, ตีน, หรือฝาบาตร
  35. ปิณฺฑปาต : ป. การบิณฑบาต, การยังก้อนข้าวให้ตกไป (ในบาตร)
  36. ปุณฺณปตฺต : ป. บาตรเต็ม; ของขวัญ, ของกำนัล, รางวัล
  37. พหุปตฺต : ป. บาตรมาก
  38. อฏฺฐปริขารอฏฺฐปริกฺขาร : (ปุ.) บริขาร ๘.บริขาร ๘ คือปตฺโต บาตร, ติจีวรํไตรจีวร(นับ๓), กายพนฺธนํประคดเอว, วาสิมีดเล็ก (มีดโกน), สูจิ เข็ม, ปริสฺสาวนํผ้ากรองน้ำ(ธมกรก).
  39. อฏฺฐปริขาร อฏฺฐปริกฺขาร : (ปุ.) บริขาร ๘. บริขาร ๘ คือ ปตฺโต บาตร, ติจีวรํ ไตร จีวร(นับ๓), กายพนฺธนํ ประคดเอว, วา สิ มีดเล็ก (มีดโกน), สูจิ เข็ม, ปริสฺสาวนํ ผ้ากรองน้ำ (ธมกรก).
  40. อสพทฺธกอสวทฺธก : (ปุ.) สายโยกคือสายของถลกบาตร.
  41. อสพทฺธก อสวทฺธก : (ปุ.) สายโยก คือสาย ของถลกบาตร.
  42. อาธาร : (ปุ.) เชิง (เครื่องรองภาชนะทั่ว ๆไป), เชิงบาตร (ขาบาตร), อาธาระเป็นคำเรียกสัมพันธ์บทที่ประกอบด้วยสัตมีวิภัติ (อธิกรณ), การอุปถัมภ์, อ่าง, หม้อน้ำ, ที่ขังน้ำสระ, ร่องน้ำรอบโคนต้นไม้ (อาลวาลก).อาปุพฺโพ, ธรฺธารเณ, โณ.
  43. อาธารก : (ปุ.) เชิงบาตรเป็นที่มาทรงไว้, เชิงบาตรเป็นที่รอง, เชิงบาตร.ส. อาธาร.
  44. อิทฺธิมยปตฺตจีวรธร : (วิ.) ผู้ทรงไว้ซึ่งบาตร และจีวรอันสำเร็จแล้วด้วยฤทธิ์.
  45. อุญฺฉาปตฺต : ป. ภาชนะหรือบาตรสำหรับขอ
  46. โอสารณา : (อิต.) โอสารณา ชื่อของวินัยกรรม อันสงฆ์ทำคือ : การเรียก (รับ) สามเณรผู้กล่าวติเตียนพระรัตนตรัย ถูกสงฆ์นาสนะผู้กลับ ประพฤติเรียบร้อยดีแล้ว ให้เข้าหมู่ได้ โอสารณานี้ สงฆ์ทำด้วยวิธีอปโลกนกรรม. การเรียกอุปสัมปทาเปกขะ ซึ่งได้รับการไล่เรียง (ซักซ้อม) อันตรายิกธรรม ที่นอกเขตประชุมสงฆ์ (ห่างจากสงฆ์) ๑๒ ศอกแล้ว ให้เข้าหมู่สงฆ์ได้โอสาร- ณานี้ สงฆ์ทำด้วยวิธีญัตติกรรม. การหงายบาตรแก่คฤหัสถ์ผู้ประพฤติให้ร้ายแก่พระศาสดา (ศาสนา)ถูกสงฆ์คว่ำบาตรคือไม่คบ ไม่รับกิจนิมนต์ ไม่รับบิณฑบาต ภายหลังรู้สึกตนกลับ ประพฤติเรียบร้อยดีแล้ว โอสารณานี้ สงฆ์ทำด้วยวิธีญัตติทุติยกรรม. ๔. การยกโทษแก่ภิกษุผู้ประพฤติมิชอบ ซึ่งถูกสงฆ์ลงโทษด้วยตัชชนียกรรมผู้ กลับประพฤติดีแล้ว โอสารณานี้สงฆ์ ทำด้วยวิธีญัตติจตุตถกรรม.
  47. [1-46]

(0.0150 sec)