Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ปญฺญา , then ปญฺญ, ปญญา, ปญฺญา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ปญฺญา, 21 found, display 1-21
  1. ปญฺญา : อิต. ความรู้, ความเข้าใจ
  2. ปญฺญาจกฺขุ : นป. จักษุคือปัญญา
  3. ปญฺญาปก : ป. ผู้ชี้ทาง, ผู้แนะนำ
  4. ปญฺญาปน : นป. การประกาศให้รู้, การปูลาด
  5. ปญฺญาเปติ : ก. บัญญัติ, ตั้งกฎ, ให้รู้, ประกาศ, ปูลาด
  6. ปญฺญายติ : ก. ปรากฏ, ประกาศ
  7. ปญฺญาวิมุตฺติ : อิต. ความหลุดพ้นเพราะปัญญา
  8. ปญฺญาสมฺปทา : อิต. ความถึงพร้อมตัวปัญญา
  9. กากปญฺญา : อิต. ความฉลาดเยี่ยงกา, ความฉลาดแกมโกง
  10. ปญฺญ : ค. ฉลาด, มีความรู้
  11. มหาปญฺญ : (วิ.) ผู้มีปัญญามาก วิ. มหตี ปญฺญา ยสฺส โส มหาปญฺโญ.
  12. ทุปญฺญ ทุปฺปญฺญ : (วิ.) มีปัญญาอันโทษประทุษร้ายแล้ว, มีปัญญาชั่ว, มีปัญญา ทราม, มีปัญญาเสีย. วิ ทุฏฺฐา ปญฺญา ยสฺส โส ทุปญฺโญ ทุปฺปญฺโญ วา.
  13. ธีมนฺตุ : (วิ.) มีปัญญาเป็นเครื่องทรง, มีปัญญา. วิ. ธี ปญฺญา อสฺส อตฺถีติ ธีมา. มนฺตุ ปัจ.
  14. ธีร : (วิ.) ผู้มีปัญญาเป็นเครื่องทรง, ผู้มีปัญญา วิ. ธี ปญฺญา อสฺส อตฺถีติ ธีโร. ร ปัจ, ธาเรตีติ วา ธีโร. ธา ธารเณ, โร, อาการสฺส อีกาโร. ผู้ถือเอาด้วยปัญญา วิ. ธิยา ปญฺญาย ราตีติ ธีโร. ธีปุพฺโพ, รา อาทาเน, อ. ผู้ชำนาญ, ผู้มั่นคง, ผู้แข็ง แรง. ฐา คตินิวุตฺติยํ, โร. แปลง ฐฺ เป็น ธฺ แปลง อา เป็น อี ส. ธีร.
  15. จกฺขุ : (นปุ.) ตา ( ธรรมชาติที่เห็นรูปได้ ), นัยน์ตา โดยมากหมายเอา แววตา ประสาท ตา. วิ. จกฺขติ รูปนฺติ จกฺขุ จกฺขฺ ทสฺสเน, อุ. กัจฯ และรูปฯ ลง ณุ ปัจ. จกฺขุ ศัพท์ ใช้ในอรรถ ๕ อย่างคือ พุทฺธจกฺขุ ได้แก่ พุทธญาณ ๑ สมนฺตจกฺขุ ได้แก่พระ สัพพัญญุตญาณ ๑ ปญฺญาจกฺขุ ได้แก่จักษุ คือปัญญา ๑ ธมมจกฺขุ ได้แก่ญาณ ใน มรรคสามเบื้องต้น ๑ มํสจกฺขุ ได้แก่ตา เนื้อ และทิพฺพจกฺขุ ตาทิพ ๑ ส. จกฺษุ.
  16. ชมฺพุทีป : (ปุ.) ชมพูทวีป ชื่อมหาทวีป ๑ ใน ๔ ทวีป วิ. ชมฺพุยา ปญฺญาโต ลกฺขิโต ทีโป ชมฺพุทีโป. รัสสะ อู เป็น อุ. รูปฯ ๓๓๖ เป็นชมพูทีป. ส. ชมฺพุทฺวีป.
  17. โพนฺทิ : (ปุ.) รูป, กาย, ร่างกาย, สรีระ. วิ. พุนฺทานิ ติกฺขานิ ปิสุณผรุส-วาจาทีนิ วา ปญฺญาวิริยาทีนิ วา เอตฺถ สนฺตีติ โพนฺทิ. วุโนติ เอตฺถาติ วา โพนฺติ. วุ สํวรเณ, ทิ, นิคฺคหิตาคโม. แปลง อุ เป็น โอ ว เป็น พ.
  18. สมฺมปปญฺญ : (วิ.) ผู้มีปัญญาโดยชอบ. เป็นภินนาธิกรณพหุพ. ผู้มีปัญญาชอบ. เป็น ฉ. พหุพ. แปล สมฺมา เป็นวิเสสนะของปญฺญา ว่า “ชอบ”.
  19. ชวนปญฺญ : ค. มีปัญญาว่องไว, ความเข้าใจได้ไว
  20. นิหีนปญฺญ : ค. มีปัญญาทราม
  21. ปนส : (ปุ.) ขนุน, ต้นขนุน. วิ. ปญฺญเต ถวียเตติ ปนโส. ปนฺ วฺยวหาเร, ถุติมฺหิ จ, อโส.
  22. [1-21]

(0.0134 sec)