Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ปด , then บด, ปด, ปต .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ปด, 64 found, display 1-50
  1. กุหก : (ปุ.) คนผู้ยังคนให้พิศวง, คนที่ทำคนให้ พิศวง, คนผู้ยังโลกให่พิศวง, คนหลอกลวง, คนโกหก. ก สกัด. โกหกไทยใช้เป็นกิริยาว่า พูดปด พูดเท็จ. สฺ. กุหก.
  2. มุสาวาท : (ปุ.) การกล่าวซึ่งคำเท็จ, การกล่าวซึ่งคำปด, การพูดเท็จ, การพูดปด, การกล่าวคำเท็จ, คำเท็จ, คำปด, คำไม่จริง.
  3. วิสวาท : ป. การหลอกลวง, การพูดปด
  4. วิสวาเทติ : ก. หลอกลวง, พูดปด
  5. อภูตกฺขาน : นป. การพูดปด, การกล่าวคำไม่จริง
  6. ปตรติ : ก. ผ่านไป, ซึมซาบ, ข้ามไป, ไหลท่วมไป, ล้น, เดือดพล่าน
  7. กฏกฏายติ : ก. กด, บด, บีบ, ลับ; ประพฤติเสียงดังกฏะกฏะ
  8. โกฏเฏติ : ก. ทุบ, ฟาด, บด, ขยี้, โขลก, ตำ, ตี
  9. ฆสติ : ก. ขัด, สี, ถู, บด; ยินดี, ชอบใจ, ร่าเริง
  10. นิปฺโผเฏติ : ก. ตี, โบย, ทุบ, ต่อย, บด, ขยี้, ทำลาย
  11. นิมฺมาเทติ : ก. ขยี้, กด, บีบ, บด; ลบหลู่; เอาออก
  12. ปุณฺฑติ : ก. ถู, ขูด, ขัด, บด
  13. สญฺจุณฺเณติ : ก.ขยี้, ทำลาย, บด
  14. อุคฺฆเสติ : ก. ถู, บด, ขัด, สี
  15. ปติ : ๑. ป. ผัว, นาย, เจ้าของ; ๒. ค. เป็นเจ้า, เป็นใหญ่, เป็นนาย, เป็นหัวหน้า ; ๓. อ. จาก ปฏิ ตอบ; ห้าม; ทวน; มั่น; หยุด ; เหมือน; ที่ตั้ง; ต่อหน้า; รู้ตลอด; กลับ, ทำอีก; เนืองๆ ; สรรเสริญ; เหตุ; ลักษณะ
  16. ปิติ : อิต. ปิติ, ความยินดี, ความชื่นชม
  17. ปิตุ : ป. พ่อ
  18. ปีต : ๑. ค. อัน...ดื่มแล้ว; ๒. ค., ป. เหลือง, สีเหลือง
  19. ปีติ : อิต. ความอิ่มใจ, ความยินดี
  20. ปีตี : ค. ผู้ดื่ม
  21. ปูต : (วิ.) สะอาด, หมดจด, แจ่มใส, เป็นมงคล, ดี. ปุ ปวเน, โต, ทีโฆ.
  22. ปูติ : (อิต.) ความชำระ, ความสะอาด. ปุ ปวเน, ติ.
  23. ปูติ, - ติก : ค. เสีย, เน่า, บูด
  24. ปูติ ปูติก : (วิ.) บูด, เน่า, เปื่อย, เปื่อยเน่า, เหม็น, ยุ. ปูยิ ทุคฺคนฺเธ, ติ. ลบที่สุดธาตุศัพท์หลัง ก สกัด.
  25. เปต : (วิ.) ผู้ละโลกไปแล้ว, ผู้ตายแล้ว.
  26. โปต : (ปุ.) เรือ, สัดจอง (ทุ่น แพ เรือน้อย), เรือเล็กของกำปั่น, ลูก, ลูกน้อย. ปุ ปวเน คติยํ วา, โต.
  27. ภูตปติ : (ปุ.) ภูตปติ ชื่อของพระอินทร์ชื่อ ๑ ใน ๒๐ ชื่อ, พระอินทร์. วิ. ภูตานํ สติตานํ ปต ภูตปติ.
  28. ฆสน : นป. การขัด, การสี, การถู, การบด
  29. จมร, - มรี : ป. จามรี, ชื่อเนื้อทรายมีขนอ่อนละเอียด หางยาวเป็นพู่สัตว์บดเอื้องอยู่ในจำพวกโค
  30. จุณฺณิต : กิต. (อันเขา) บด, ขยี้, ทำให้แหลก, ทำให้ละเอียดแล้ว
  31. จุณฺเณติ : ก. บด, ขยี้, ทำให้แหลก, ทำให้ละเอียด
  32. นิปตน : (นปุ.) การตกไปโดยไม่เหลือ, การตก, การหล่น, การล้ม, การตกไป, ฯลฯ, ความตก, ฯลฯ. นิปุพฺโพ, ปตฺ ปตเน, ยุ.
  33. นิปฺโปฐน : นป. การตี, การโบย, การบด, การกด, การขยี้, การทำลาย
  34. นิปาต : (ปุ.) การตกไปโดยไม่เหลือ, การตก ไปในระหว่าง, การไม่เปลี่ยนแปลง, การประชุม, ความตก, ความตกไป, ความไม่เปลี่ยนแปลง, นิบาต คือคำเรียก อัพยย- ศัพท์มี ป เป็นต้น อีกอย่างหนึ่งเรียก คัมภีร์ในพระพุทธศาสนา. นิปุพฺโพ, ปตฺ ปตเน, โณ. อภิฯ ลง อ ปัจ. ส. นิปาต.
  35. นิสท : ป. หินบด, หินลับมีด
  36. นิสทโปต, -ก : ป. ลูกหินบด
  37. ปตฺต : (นปุ.) การตก, การตกไป. ปตฺ ปตเน, โต.
  38. ปตฺติ : (ปุ.) ทหารเดินเท้า, พลเดินเท้า, ทหารราบ, กองพลราบ. วิ. ปตฺตีติ ปตฺติ. ปตฺ คมเน, อิ, ทฺวิตฺตํ. ปเทน อตตีติ วา ปตฺติ. ปทปุพฺโพ, อตฺ สาตจฺจคมเน, อิ, อโลโป, ทสฺส โต. คนกล้าหาญ ก็แปล.
  39. ปิส : ค. บดแล้ว, สีแล้ว, ขยำแล้ว
  40. ปิสติ, (ปึสติ) : ก. บด, ขยำ, คั้น
  41. ปิสน, (ปึสน) : นป. การบด, การขยำ, การทำลาย
  42. ปิสิต : ๑. นป. เนื้อ ; ๒. ค. อันเขาบด, อันเขาขยำ, อันเขาทำลายแล้ว
  43. ปึสติ : ก. บด, สี, ขยำ
  44. เปรณ : (นปุ.?) อันบด, อันขยี้, อันย่ำ, อันทำให้ละเอียด, การบด,ฯลฯ. ปิสฺจุณฺณเน, ยุ. แปลง ส เป็น ร อิ เป็น เอ.
  45. เปสุญฺญ : (นปุ.) ความเป็นแห่งวาจาอันบดเสียซึ่งประโยชน์. ปิสุณ หรือ ปิสุน+ณฺย ปัจ. ภาวตัท. วิการ อิ เป็น เอ แปลง ณฺย (คือ ณ ที่สุดศัพท์เมื่อลบ อ แล้วกับ ย ปัจ. เมื่อลบ ณฺ แล้ว) เป็นญฺญ หรือ นฺย (คือที่สุดศัพท์เช่นกัน) เป็น ญฺญ.
  46. โปถน : (นปุ.) อันโปย, อันตี, อันทุบ, อันบด, อันขยี้, การโบย, ฯลฯ. โปถฺ ปริยา-ปนภาเว, ยุ.
  47. มทฺทน : (นปุ.) การนวด, การย่ำยี, การบด, การทำลาย. ยุ ปัจ.
  48. มิค : (ปุ.) เนื้อ ชื่อของสัตว์ป่า มีกวาง อีเก้ง เป็นต้น ปศุ สัตว์เลี้ยง สัตว์ของเลี้ยง จามจุรี จามรี สองคำนี้เป็นชื่อของเนื้อทราย มีขนละเอียดหางยาวเป็นพู่เป็นสัตว์บดเอื้องอยู่ในจำพวกโค. วิ. มียติ มํสํ ขาทิตุกามิเคหิ จาติ มิโค. มิ หึสายํ, โค. อิโต จิโต จ โคจรํ มเคตีติ วา มิโค. มคฺ อเนฺวสเน, อ. แปลง อ ที่ ม เป็น อิ. มคฺคียติ มํสาทิอตฺถิเกหิ ลุทฺเทหีติ วา มิโค. มคฺคฺ คเวสเน, อ. ลบ ค. สังโยค. หรือตั้ง มรฺ ปาณจาเค, อ, รสฺส โค, อิตฺตญฺจ.
  49. วิจุณฺเณติ : ก. บดให้ละเอียด, ทำลาย
  50. สงฺขาทติ : ก. เคี้ยว, บดอาหาร
  51. [1-50] | 51-64

(0.0164 sec)