Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ประจำ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ประจำ, 129 found, display 1-50
  1. นิจฺจ : (วิ.) เที่ยง, มั่นคง. แน่นอน, ยั่งยืน, ทุกเมื่อ, สะดวก, ประจำ, เนืองๆ, เป็นนิจ, เป็นนิตย์, เสมอ. วิ. นาสภาเวน น อิจฺจํ น คนฺตพฺพนฺติ นิจฺจํ นาสํ น คจฺฉตีติ วา นิจฺจํ นาสบทหน้า คมฺ+กฺวิ ปัจ. ลบ ส และ มฺ แปลง อา เป็น อิ แปลง ค เป็น จ ซ้อน จฺ ส. นิตฺย.
  2. กุสุม : (ปุ.) โรคประจำเดือนของผู้หญิง, ประจำ เดือนของหญิง, ประจำเดือน (ระดูของ หญิง), ระดูของหญิง. อภิฯ เป็น นปุ กุสฺ อวฺหาเณ, อุโม.
  3. กณฺฑุ กณฺฑุติ กณฺฑู กณฺฑูยา : (อิต.) ความคัน, โรคคัน, ต่อมเล็ก ๆ, ฝี, ลำลาบเพลิง หิด, หิดด้าน, หิดเปลื่อย. กณฺฑฺ เภทเน, อุ. ศัพท์ที่ ๒ ลง อ ปัจ. ประจำธาตุ แล้วเอา อ ที่ ฑ เป็น อุ ติ ปัจ. ศัพท์ที่ ๓ ลง อุ ปัจ. แล้วทีฆะ ศัพท์ที่ ๔ ลง อ ปัจ. ประจำ ธาตุแล้วลง ณฺย ปัจ. เอา อ ที่ ฑ เป็น อู. ส. กณฺฑุ กณฺฑู กณฺฑูยา.
  4. กิณ : (นปุ.) การซื้อ. กี ธาตุ ณา ปัจ. ประจำ หมวดธาตุ อ ปัจ. นามกิตก์ รัสสะ อี เป็น อิ รูปฯ ๖๓๐.
  5. กิสลย : (นปุ.) ยอดอ่อน, ข้อ. วิ. กสติ วุทฺธึ ยาตีติ กิสลยํ. กสฺ คมเน. อ ปัจ. ประจำ หมวดธาตุ อย ปัจ. ลฺ อาคมในท่ามกลาง แปลง อ ที ก เป็น อิ. อภิฯ ลง ย ปัจ.
  6. จาริตฺต : (นปุ.) ความประพฤติ, ความสมสู่ อู่. จาริตฺตํ อาปชฺชิตฺวา ถึงความสมสู่, จารีต. รูปฯ ๖๕๑ ให้ วิ. ว่า จริตานํ คโณ จาริตฺตํ. อถวา, จรนฺติ ตสฺมึ ปริปูริการิตายาติ จาริตฺตํ. จรฺ จรเณ, ณิตฺตปจฺจโย. ไทย จารีต คือสิ่งที่ประพฤติต่อๆ กันมาประเพ ณีที่ถือสืบต่อกันมาหรือการปฏิบัติที่ทำเป็น ประจำ มักพูดว่า จารีตประเพณีใครฝ่าฝืน ถือว่าเป็นผิดเป็นชั่ว.
  7. นิพทฺธ นิวทฺธ : (วิ.) เนื่องมีระหว่างออกแล้ว, เนื่องมีระหว่างคั่นไม่มี, เนื่องไม่มีระหว่าง คั่น, เนื่องกัน, ติดต่อกัน, เนืองๆ, เนือง นิตย์, เสมอ, ประจำ.
  8. ปปุนฺนาฏ : (ปุ.) ชุมเห็ด ชื่อต้นไม้รักษาหิด วิ. ปกาเรน ททฺทุ ปุนาตีติ ปปุนฺนาโฏ. ปการปุพฺโพ, ปุ ปวเน, อโฏ, นิคฺคหิตา คโม, การโลโป. ลง นา ปัจ. ประจำ หมวดธาตุและ อฏ ปัจ.
  9. ปมชฺชน : (นปุ.) ความมัวเมา, ความประมาท. ปปุพฺโพ, มทฺ อุมฺมาเท. ย ปัจ. ประจำ หมวดธาตุ ยุ ปัจ. แปลง ทฺย เป็น ชฺช ยุ เป็น อน.
  10. ปรม : (วิ.) ยอด, ยอดเยี่ยม, ยอดยิ่ง, อย่างยิ่ง, อย่างเยี่ยม, อย่างยอด, เป็นยอด, สูงสุด, ที่สุด, สนิท, เต็มเปี่ยม, อุดม, บรม. วิ. นตฺถิ อญฺญ ปรํ เอตสฺมาติ ปรมํ. ม ปัจ. แทน นตฺถิ. ปรํ ปจฺจนีกํ มาเรตีติ ปรมํ. ปกฏฺฐภาเว รมตีติ วา ปรมํ. อถวา, ปรติ อตฺตโน อุตฺตมภาวํ ปาเลติ ปูเรติ วาติ ปรมํ. ปรฺปาลเน, โม. ลง อ ปัจ. ประจำ หมวดธาตุ แล้ว ลง ม ปัจ.
  11. กฐินทุสฺส : นป. ผ้ากฐิน, ผ้าที่ถวายพระสงฆ์ประจำปีเพื่อทำจีวร
  12. กลห : (ปุ.) วาทะเป็นที่โต้เถียง วิ. กลหนฺติ อสฺมินฺติ กลโห. กลหฺ กุจฺฉเน, อ. วาจา เป็นเครื่องโต้เถียง วิ. กลียติ ปริมียติ อเนน สูรภาวนฺติ กลโห. กลฺ สํยฺ ยาเณ, โห. ลง อ ปัจ. ประจำธาตุก่อนแล้วลง ห ปัจ. การ ทะเลาะ, การวิวาท, ความทะเลาะ. ความวิวาท, ความทุ่มเถียง วิ. กลหนํ กลโห. ส. กลห.
  13. กิจฺจวตฺต : (นปุ.) ความประพฤติอัน...พึงทำ, ฯลฯ, ความประพฤติตามหน้าที่, เรียกกิจ ทางศาสนาที่จะพึงทำเป็นประจำ เช่น ทำ วัตรเช้า ทำวัตรเย็น เป็นต้นว่า กิจวัตร. กิจที่ทำเสมอ ๆ แม้มิใช่กิจทางศาสนาก็ เรียกกิจวัตรได้บ้าง ผู้เขียนมีความเห็นว่า ควรยกไว้เป็นศัพท์เฉพาะกิจทางศาสนา เหมาะกว่า.
  14. กุชฺฌน : (นปุ.) ความโกรธ. กุธฺธาตุ ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ ย ปัจ. นามกิตก์ แปลง ธฺย เป็น ชฺฌ ยุ เป็น อน.
  15. กุชฺฌนา : (อิต.) ความโกรธ. กุธฺธาตุ ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ ย ปัจ. นามกิตก์ แปลง ธฺย เป็น ชฺฌ ยุ เป็น อน.
  16. กุมฺภณฺฑสามิ : (ปุ.) กุมภัณฑสามิ ชื่อท้าวจตุโลก- บาลประจำ (ทิศใหญ่) ทิศใต้, ท้าววิรุฬหก.
  17. กุมุท : (ปุ.) กุมุทะ ชื่อช้างประจำทิศตะวันตก เฉียงใต้ วิ. กยํ ปฐวิยํ โมทตีติ กุมุโท. กุปุพฺโพ, มุท. หาเส, อ. อถิฯ ลง ณ ปัจ. ส. กุมุท.
  18. กุลเคห : นป. เรือนแห่งตระกูล, บ้านประจำตระกูล
  19. กุลตนฺติ : อิต. แบบแผนประจำตระกูล, ประเพณีแห่งตระกูล
  20. กุลทาสี : อิต. นางกุลทาสี, สาวใช้แห่งตระกูล, หญิงรับใช้ประจำครอบครัว
  21. กุลสนฺตก : นป. อันเป็นของมีอยู่แห่งตระกูล; สมบัติของตระกูล, สมบัติประจำตระกูล
  22. กุลุปก กุลุปค กุลูปค : (วิ.) ผู้เข้าถึงตระกูล, ผู้ประจำตระกูล. วิ. กุลํ อุปคจฺฉตีติ กุลุปโค. กุล+อุป+คมฺธาตุ กฺวิ ปัจ. ที่เป็น กุลปก เพราะแปลง ค เป็น ก กัจฯ ๒๙ รูปฯ ๔๒.
  23. กุลุปก กุลุปิก : (ปุ.) คนผู้คุ้นเคย, กุลุปกะ กุลุปิกะ ใช้เรียกภิกษุผู้ประจำตระกูล.
  24. กุเวร : (ปุ.) กุเวร ท้าวกุเวร ชื่อท้าวจตุโลกบาล องค์ที่ ๔ ประจำทิศอุดร องค์นี้มี ๔ ชื่อ คือ ยกฺขาธิป เวสฺสวณ กุเวร นรวาหน วิ. กุจฺฉิโต เวโร สรีร มสฺสาติ กุเวโร.
  25. กุสม : (ปุ.) โรคประจำเดือนของหญิง, ระดูของ หญิง. กุสฺ อวหาเณ, อโม.
  26. ขายน : (วิ.) ประกาศ, แสดง, ปรากฏ. ขา ปกาสเน. ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ ยุ ปัจ. นามกิตก์.
  27. คณฺหณ คณฺหน : (วิ.) ควรถือเอา, ควรเรียน, คหฺธาตุ ณฺหา ปัจ. ประจำหมวดธาตุ ยุ ปัจ. ลบที่สุด ธาตุ.
  28. คหปติมหาสาล : (ปุ.) คหบดีผู้มหาสาล (มี ทรัพย์เก็บไว้ ๔0 โกฏิกหาปณะ ส่วนที่ ใช้สอยประจำวัน วันละ ๕ อัมมณะ).
  29. โคฏวิส : (ปุ.) สมอ ชื่อของของหนักที่ใช้เชือก หรือโซ่ผูกไว้ สำหรับใช้ทอดลงไปในน้ำ เพื่อให้เกาะดิน มีให้เรือลอยไปที่อื่น วิ. คมิจฺฉิตทิสํ อฏติ เยน โส โคฏวิโส. คมิจฺฉิตทิสปุพฺโพ, อฏฺ คติยํ, อิโส.ลง อ ปัจ. ประจำหมวดธาตุ เป็น อฏ แปลง อ ที่ ฏ เป็น อว ลบบทหน้าเหลือ ค แปลง อ ที่ ค เป็น โอ รวมเป็น โคฏว+อิส ปัจ.
  30. ฆคฺฆร : (ปุ.?) ซอกเขา, นกแสก, ประตู แม่น้ำ, เสียงสำรวล (หัวเราะ) ฆํสฺ ฆสนอทเนสุ, โร. ลง อ ปัจ. ประจำหมวด ธาตุ แปลง ส เป็น ค แล้วแปลง ค เป็น ฆ แปลง นิคคหิต เป็น ค.
  31. ฆายน : (นปุ.) การดม, การสูดดม, การสูดกลิ่น, การจูบ. ฆา ธาตุ ย ปัจ. ประจำหมวด ธาตุ ยุ ปัจ.
  32. จนฺทนิกา : (อิต.) บ่ออันเต็มด้วยของไม่สะอาด ใกล้ประตูบ้าน, บ่ออันเต็มด้วยน้ำไม่ สะอาดใกล้ประตูบ้าน, บ่อน้ำครำ, แอ่งน้ำ ครำ. วิ. จิตฺตํ ทุโนตีติ จนฺทนิกา จิตฺตปุพฺโพ ทุ หึสายํ. ลง ณุ ปัจ. ประจำหมวด ธาตุ แปลง ณุ เป็น นุ อ ปัจ. นามกิตก์ อิ อาคม ก สกัด ลบ ตฺต แปลง อิ ที่ จิ เป็น อ อาอิต.
  33. จิตฺตปาฏลิ : อิต. ต้นจิตตปาฏลิ, ต้นไม้ประจำอสุรพิภพ
  34. จุลฺลุปฏฺฐาก : ป. จุลลุปัฏฐาก, คนรับใช้ประจำตัว, คนรับใช้ใกล้ชิด
  35. ฉิชฺชน : (วิ.) ขาด, ทะลุ, แตก, สลาย, เสียหาย, ผิด. ฉิทฺ ธาตุ ในความตัด, ฯลฯ. ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ ยุ ปัจ. แปลง ทฺย เป็น ชฺช ยุ เป็น อน.
  36. ชาติวิภงฺค : ป. ความแตกต่างกันแห่งชาติสกุล, ลักษณะพิเศษประจำชาติ
  37. ชาติวีณา : อิต. พิณที่มีมาแต่เกิด, พิณคู่มือ, พิณประจำสกุล
  38. ชานิ : (อิต.) ความเสื่อม, ความเสื่อมสิ้น, ความย่อยยับ ชิ ธาตุในความเสื่อม นา ปัจ. ประจำหมวดธาตุ อิ ปัจ. แปลง อิ ที่ ชิ เป็น อ ทีฆะ เป็น อา หรือ ลง นิ ปัจ. ไม่ต้องลง นาและ อิปัจ. อภิฯ ตั้ง หา จาเค, นิ. แปลง หา เป็น ชา. รูปฯ ๕๘๔ ตั้งหาธาตุ ติ ปัจ. แปลง ติ เป็น นิ.
  39. ตสฺสน : (นปุ.) ความกระหาย, ความระหาย, ความกระหายน้ำ. ความอยากเพื่ออันดื่ม, ความอยากเพื่อจะดื่ม, ความอยากจะดื่ม. ตสฺ ปิปาสายํ, ยุ. ลง ย ปัจ. ประจำหมวด ธาตุ แปลง สฺย เป็น สฺส ยุ เป็น อน.
  40. ตุณฺณวาย ตุนฺนวาย : (ปุ.) ช่างเย็บ, ช่างชุน. วิ. ตุนฺนํ อวายิ วายติ วายิสฺสตีติ ตุนฺนวาโย. ตุนฺนปุพฺโพ, วา คนฺธเน ( ตัด แทง) , อ. แปลง อา ที่ธาตุเป็น อาย หรือ ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ ก็ไม่ต้องแปลง อา หรือ ตั้ง เว ตนฺตุสนฺตาเน, โณ. แปลง เอ เป็น อาย ศัพท์ต้น แปลง นฺน เป็น ณฺณ.
  41. ถิรช ถีรช : (ปุ. นปุ.) เกสรของหญิง,ประจำเดือนของหญิง,โรคประจำเดือนของหญิง,ระดูของหญิง.
  42. ทปฺปณ ทปฺปน : (นปุ.) แว่น, กระจก, วิ. ทิปฺปติ เอตฺถาติ ทปฺปโณ ทปฺปโน วา. ทิปฺ ทิตฺติยํ, ยุ. ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ เป็น ทิปฺย แปลง ปฺย เป็น ปฺป ยุ เป็น อน ศัพท์ต้น แปลง น เป็น ณ.
  43. ทมิฬ : (วิ.) ดุ, ร้าย, ดุร้าย. ทุ หึสายํ, อิโล. ลง นา ปัจ. ประจำหมวดธาตุแปลง นา เป็น มา อุ เป็น อ ล เป็น ฬ.
  44. ทสวิธราชธมฺม : (ปุ.) ธรรมของพระราชามี อย่างสิบ, ธรรมของพระเจ้าแผ่นดินสิบ อย่าง, ทศพิธราชธรรมล ทศพิธราชธรรมเป้นหลักะรรมประจำองค์พระเจ้าแผ่นดินและเป็นคุณธรรมของผู้ปกครองบ้าน เมืองทั้งหลายด้วยมี ๑๐ อย่างคือ ทาน ศีล บริจาค อาชวะมัทวะ ตบะ อักโกธะ อวิหิงสาขันติ และอวิโรธนะ
  45. ทานวฏฺฏ, - วตฺต : นป. การอวยทาน, การบำเพ็ญทาน, การบริจาคเป็นประจำ
  46. ทิวสวลญฺช : (ปุ.) การใช้สอยในวันๆ, ค่าใช้ สอยในวันๆ, ค่าใช้จ่ายในวันๆ, รายจ่ายในวันๆ, รายจ่ายประจำวัน. วิ. ทิวเส ทิวเส วลญฺชิตพฺโพ ทิวสวลญฺโช. ทิวสทิสปุพฺโพ, วลชิ วลญฺชเน, อ. ลบ ทิวส ๑ ศัพท์
  47. ทิสาคช : (ปุ.) ช้างผู้รักษาทิศ, ช้างประจำทิศ. วิ. เอราวณทโย อฏฺฐ คชา ปุพฺพาทีนํ ทิสานํ รกฺขณโต ทิสาคชา นาม.
  48. ทุวจ : (วิ.) ผู้อัน...ว่าได้โดยยาก (ว่ายากสอน ยาก). ทุกฺข+วจฺ ธาตุ อ ปัจ. ประจำหมวดธาตุ ข ปัจ. ลบ กฺข. ผู้มีวาจาอันโทษประทุษร้ายแล้ว ทุฏฺฐ+วจ. ผู้มีถ้อยคำชั่ว ผู้มีถ้อยคำหยาบ ทุ + วจ หรือ ทุฏฺฐ+วจ.
  49. ธตรฏฺฐ : (ปุ.) ธตรฐ, ธตรษฐ์ ท้าว ธตรษฐ์ ชื่อท้าวโลกบาลประจำทิศตะวันออก ซึ่ง เป็นอธิบดีแห่งคนธรรพ์ วิ. ธาริดตํ รฏฺฐ มเนนาติ ธตรฏฺโฐ.
  50. ธุรกิจฺจ : (นปุ.) กิจคือการงาน, กิจการงาน, ธุรกิจ คืองานประจำที่เกี่ยวกับการค้าขาย หรือกิจการอื่นที่สำคัญ ซึ่งมิใช่ราชการ.
  51. [1-50] | 51-100 | 101-129

(0.0451 sec)