Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ประพฤติ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ประพฤติ, 203 found, display 1-50
  1. จรติ : ก. เที่ยวไป, ท่องเที่ยวไป, ดำเนินไป, ประพฤติ
  2. นิพฺพตฺเตติ : ก. เกิด, อุบัติ, ผลิต; ประสบ; ประพฤติ, ปฏิบัติ
  3. ปฏิเสวติ : ก. เสพเฉพาะ, เสพ (เมถุน), ประพฤติ, ปฏิบัติตาม, เสพอาศัย, ส้องเสพ, ใช้ (ปัจจัยสี่)
  4. ปวตฺเตติ : ก. ให้เป็นไป, หมุน; ประพฤติ, ปฏิบัติ
  5. อนุพฺรูเหติ : ก. พอกพูน, ภาวนา, ทำให้เจริญ, ประพฤติ, ปฏิบัติ
  6. อุปยุญฺชติ : ก. เกี่ยวข้อง, ประกอบ, ประพฤติ, ปฏิบัติ
  7. อุปเสวติ : ก. ซ่องเสพ, คบหา, ประพฤติ, รับใช้
  8. จร : (วิ.) บรรลุ, ไป, เที่ยวไป, เคลื่อนที่ไป, เคลื่อนที่ได้. จรฺ คติยํ, อ. สั่งสม, สะสม, รวบรวม. จรฺ สญฺจเย, อ. ประพฤติ จรฺ จรเณ, อ. สละ, ละ, ทิ้ง. จรฺ จชเน, อ. กิน, บริโภค. จรฺ ภกฺขเณ, อ. ยกขึ้น, สั่น, ส่าย, กลับกลอก, คลอนแคลน. จรฺ อุกฺขิปเน, อ.
  9. กฏกฏายติ : ก. กด, บด, บีบ, ลับ; ประพฤติเสียงดังกฏะกฏะ
  10. กณภกฺข : ๑. นป. การกินรำ, การประพฤติวัตรของนักพรตจำพวกหนึ่ง ; ๒. ค. ผู้มีรำเป็นอาหาร
  11. กลฺยาณจริต : ค. ผู้ประพฤติความดีงาม
  12. กลายติ : ก. ประพฤติโกง, หลอกลวง
  13. กาเมสุมิจฺฉาจาร : (วิ.) (ประโยค) อันเป็น เครื่องประพฤติผิดในกามท. วิ. กาเมสุมิจฺ ฉาจรนฺติ เอเตนาติ กาเมสุมิจฺฉาจาโร.
  14. กายทุจฺจริต : (นปุ.) ความประพฤติชั่วอันสัตว์ ทำแล้วด้วยกาย, ความประพฤติชั่วอัน บุคคลทำแล้วด้วยกาย. วิ. กาเยน กตํ. ทุจฺจริตํ กายทุจฺจริตํ. ความประพฤติชั่ว ด้วยกาย, ความประพฤติชั่วทางกาย. วิ. กาเยน ทุจฺจริตํ กายทุจฺจริตํ.
  15. กายทุจฺจริตาทิปเวสนนิวารณตฺถาจาร : (วิ.) ผู้มีอาจาระอันเกียดกันเสีย ซึ่งความเข้าไปแห่งความประพฤติชั่วมีความประพฤติชั่ว ด้วยกายเป็นต้นเป็นประโยชน์. เป็น ฉ. ตุล. มี ต. ตัป. ฉ. ตุล, ฉ. ตัป. ทุ. ตัป. และ ฉ. ตุล. เป็นท้อง.
  16. กายทุจฺจริตาทิอกุสลกมฺมาภิรต : (วิ.) ผู้ยินดี ยิ่งแล้วด้วยกรรมมิใช่กุศลมีความประพฤติ ชั่วด้วยกาย เป็นต้น.
  17. กายทุฏฐุลฺล : นป. ความประพฤติชั่วหยาบทางกาย
  18. กายปโกป, - ยปฺปโกป : ป. ความกำเริบทางกาย, ความประพฤติผิดทางกาย
  19. กายวงฺก : ป. ความคดแห่งกาย, ความประพฤติที่ไม่ซื่อตรงทางกาย, กายทุจริต
  20. กายสมาจาร : (ปุ.) ความประพฤติดีด้วยกาย, ความประพฤติชอบด้วยกาย, ความประพฤติดีทางกาย. กายสิทฺธิ
  21. กายสุจริต : นป. กายสุจริต, ความประพฤติชอบทางกาย
  22. กิจฺจวตฺต : (นปุ.) ความประพฤติอัน...พึงทำ, ฯลฯ, ความประพฤติตามหน้าที่, เรียกกิจ ทางศาสนาที่จะพึงทำเป็นประจำ เช่น ทำ วัตรเช้า ทำวัตรเย็น เป็นต้นว่า กิจวัตร. กิจที่ทำเสมอ ๆ แม้มิใช่กิจทางศาสนาก็ เรียกกิจวัตรได้บ้าง ผู้เขียนมีความเห็นว่า ควรยกไว้เป็นศัพท์เฉพาะกิจทางศาสนา เหมาะกว่า.
  23. กุกฺกุรวติก : ค. ผู้ประพฤติวัตรเหมือนอย่างสุนัข, ผู้มีกิริยาอาการเยี่ยงสุนัข
  24. กุฏจริยา : (อิต.) ความประพฤติคด, ฯลฯ.
  25. กุตฺต : นป. สิ่งที่ถูกทำขึ้น; ความประพฤติ; อากัปกิริยา, กิริยาอาการที่มีเสน่ห์
  26. กุสลสีล : นป. ศีลอันเป็นกุศล, ความประพฤติดี
  27. โกมารพฺรหฺมจริยา : อิต. การประพฤติพรหมจรรย์เนื่องมาแต่ตนดำรงอยู่ในวัยเด็ก, พรหมจรรย์ที่ประพฤติสืบต่อมาตั้งแต่ยังเป็นเด็ก
  28. เขมจารี : (วิ.) ผู้ประพฤติซึ่งธรรมอันเกษม วิ. เขมํ จรตีติ เขมจารี, ผู้ประพฤติซึ่งธรรมอัน อันเกษมโดยปกติ วิ. เขมํ จรติ สีเลนาติ เขมจารี. ผู้มีความประพฤติซึ่งธรรมอัน เกษมเป็นปกติ. ผู้มีปกติประพฤติซึ่งธรรม อันเกษม วิ. เขมสฺส จรณสีโลติ เขมจารี.
  29. คฬคฬายติ : ก. ประพฤติดังคละคละ, ทำเสียงคละคละ, แผดเสียง, คำราม
  30. คามธมฺม : (ปุ. นปุ.) เรื่องของชาวบ้าน, กิจของ ชาวบ้าน, ความประพฤติของคนผู้มีปกติ อยู่ในบ้าน, ความประพฤติของชาวบ้าน, ความประพฤติของคนผู้มีปกติอยู่ในบ้าน, เมถุน (การร่วมสังวาส). วิ. คามวาสีนํ ธมฺโม อาจาโร คามธมฺโม.
  31. โควติก : ค. ผู้ประพฤติวัตรอย่างโค
  32. โคสีล : นป. โคศีล, การประพฤติวัตรอย่างโค
  33. จปล : (วิ.) ประพฤติผิดโดยไม่ตริตรองเสียก่อน, ประพฤติผิดโดยพลัน, กลับกลอก, โยก, โคลง, ไหว, หวั่นไหว, ไม่แน่นอน, พลิก- แพลง, รวดเร็ว. จปฺ กกฺกนสนฺตาเนสุ, อโล. อถวา, จุป จลเน, อโล. วิ. จุปติ เอกตฺเถ น ติฏฺฐตีติ จปโล. อุสฺส อตฺตํ.
  34. จรณวนฺตุ : ค. ผู้มีจรณะ, ผู้มีความประพฤติชอบ
  35. จริต, - ตก : นป. จริต, ความประพฤติ, นิสัย; ชีวิต, ความเป็นอยู่
  36. จริตฺต จริตฺร : (นปุ.) ความประพฤติ. ศัพท์แรก ต. ปัจ. แปลง ต เป็น ตฺต ศัพท์หลัง ตฺรณฺ ปัจ. อิ อาคม.
  37. จริตุ : ป. คนผู้เที่ยวไป, ผู้ประพฤติ, ผู้ปฏิบัติ
  38. จริย : (นปุ.) การเที่ยวไป, ความประพฤติ
  39. จริยวส จริยาวส : (ปุ.) อำนาจแห่งจริยาอัน ตนพึงประพฤติ, อำนาจแห่งจริยะ, อำนาจ แห่งจริยา.
  40. จริยา : (อิต.) ความประพฤติ, กิริยาที่ควร ประพฤติ, จริยา, จรรยา. วิ. จรณํ จริยา. จริตพฺพนฺติ วา จริยา. จรฺ จรเณ, โณฺย, อิอาคโม. รูปฯ ๖๔๔. ส. จรฺยา.
  41. จาฏกมฺยตา : อิต. ความแกล้งประพฤติถ่อมตน, การประจบ, การสรรเสริญ, การเยินยอ
  42. จาปลฺย : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้ประดิษฐ์ ประดอย, ความเป็นแห่งบุคคลผู้ประพฤติ โดยพลัน, ความเป็นแห่งบุคคลผู้พลิก แพลง, ความเป็นแห่งบุคคลผู้โลเล, ฯลฯ. จปลสฺส ภาโว จาปลฺยํ. ณฺย ปัจภาวตัท. การชอบตกแต่ง, ฯลฯ. ณฺย ปัจ. สกัด.
  43. จาร : (ปุ.) คนสอดแนม, การเที่ยวไป, การเป็น ไป, ความประพฤติ. จรฺ จรเณ, โณ.
  44. จารก, - ริก : ๑. ค. ผู้เที่ยวไป, ผู้ท่องเที่ยวไป, ผู้ประพฤติ; ๒. ป. คุก, เรือนจำ
  45. จารณ : ค., นป. ผู้เที่ยวไป, ผู้ประพฤติ; การให้เที่ยวไป, การจัดการ, ความประพฤติ
  46. จาริตฺต : (นปุ.) ความประพฤติ, ความสมสู่ อู่. จาริตฺตํ อาปชฺชิตฺวา ถึงความสมสู่, จารีต. รูปฯ ๖๕๑ ให้ วิ. ว่า จริตานํ คโณ จาริตฺตํ. อถวา, จรนฺติ ตสฺมึ ปริปูริการิตายาติ จาริตฺตํ. จรฺ จรเณ, ณิตฺตปจฺจโย. ไทย จารีต คือสิ่งที่ประพฤติต่อๆ กันมาประเพ ณีที่ถือสืบต่อกันมาหรือการปฏิบัติที่ทำเป็น ประจำ มักพูดว่า จารีตประเพณีใครฝ่าฝืน ถือว่าเป็นผิดเป็นชั่ว.
  47. จาริตฺตสีล : นป. จาริตตศีล, ศีลที่ประพฤติเป็นอาจิณ
  48. จารี : ค. ผู้มีปกติประพฤติ, ผู้มักเที่ยวไป
  49. จิงฺคุลายติ : ก. ประพฤติดุจกังหัน, หมุนไป, หมุนรอบ
  50. จิจฺจิฏายติ : ก. ประพฤติเสียงดังฉี่ๆ ฉ่าๆ (เหมือนเสียงก้อนเหล็กเผาไฟที่จุ่มลงในน้ำ), เดือดพล่าน
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-203

(0.0183 sec)