Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ประมาท , then ปรมาท, ประมาท .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ประมาท, 35 found, display 1-35
  1. อวฺยายต : ค. ไม่พินิจพิเคราะห์, ประมาท
  2. อวฺยาวฏ : ค. ไม่ห่วง, ไม่กังวล, ไม่ขวนขวาย, ประมาท, สะเพร่า, เพิกเฉย
  3. อุมฺมชฺชติ : ก. มัวเมา, ประมาท, บ้า
  4. อุมฺมาท : (วิ.) เมา, มัวเมา, ประมาท, เลินเล่อ, คลั่ง, บ้า.
  5. กท : (วิ.) ผู้ให้ตน วิ. กํ เทตีติ กโท (คน ประมาท).
  6. ปมาท : (ปุ.) ความมัวเมา, ความเลินเล่อ, ความลืมตน, ความเผลอ, ความไม่เอาใจใส่, ความลืมสติ, ความประมาท. วิ. ปมชฺชนํ ปมาโท. ปปุพฺโพ, มทฺ อุมฺมาเท, โณ. ไทย ใช้ ประมาท เป็นกิริยาในความว่าขาด ความรอบคอบ, ขาดความระมัดระวังเพราะ ทนงตัว และดูหมิ่น ใช้เป็นนามว่า ความเลินเล่อ, การขาดความระมัดระวัง.
  7. ขีว : (ปุ.) ความเมา, ความมัวเมา, ความประมาท. ขีวุ มเท, อ.
  8. ตนฺทน : (นปุ.) ความหลับ, ความง่วง, ความง่วงเหงา, ความง่วงโงก, ความคร้าน, ความเกียจคร้าน, ความประมาท. ตนฺทฺ อาลสิเย, ยุ.
  9. ตนฺทิ : อิต. ความหลับ, ความประมาท, ความเฉื่อยชา, ความเหนื่อยอ่อน, ความขี้เกียจ
  10. ธิกฺกต : ค. ซึ่งสบประมาท, เกลียดชัง, ทำให้เลวลง, น่าติเตียน
  11. นิรงฺกโรติ : ก. เพิกเฉย, ไม่เอาใจใส่, ละทิ้ง, ไม่แยแส, ไม่คำนึง, สบประมาท
  12. นิลฺลป : ค. ซึ่งไม่หลอกลวง, ปราศจากการสบประมาท
  13. ปมชฺชติ : ก. ประมาท, มัวเมา, เลินเล่อ, เผลอสติ, ปล่อยปละละเลย; ลูบคลำ, ลูบไล้, ถู; เช็ด, ถูออก
  14. ปมชฺชน : (นปุ.) ความมัวเมา, ความประมาท. ปปุพฺโพ, มทฺ อุมฺมาเท. ย ปัจ. ประจำ หมวดธาตุ ยุ ปัจ. แปลง ทฺย เป็น ชฺช ยุ เป็น อน.
  15. ปมตฺต : ค. ผู้ประมาท, ผู้มัวเมา, ผู้เลินเล่อ, ผู้เผลอสติ, ผู้ปล่อยปละละเลย, ผู้เพิกเฉย
  16. ปมตฺตจารี : (ปุ.) ผู้ประพฤติประมาทโดยปกติ, ฯลฯ. ดู ธมฺมจารี เทียบ.
  17. ปมาทวตา : อิต. ความเป็นผู้มีความประมาท
  18. ปริภวติ : ก. สบประมาท, ดูหมิ่น, ฉิบหาย, ลำบาก
  19. ปริภูต : กิต. ดูหมิ่นแล้ว, สบประมาทแล้ว, ฉิบหายแล้ว
  20. วมฺภน : นป.,- นา อิต. การเย้ยหยัน, การสบประมาท
  21. วมฺภิต : กิต. สบประมาทแล้ว, เย้ยหยันแล้ว
  22. วมฺภี : ค. ผู้สบประมาท, ผู้เย้ยหยัน
  23. วมฺเภติ : ก. สบประมาท, เย้ยหยัน
  24. อกฺโกส : (ปุ.) การด่า, การแช่ง, คำด่า, คำแช่ง, คำสบประมาท. อาปุพฺโพ, กุสฺ อกฺโกสเภทเนสุ, อ, ยุ.
  25. อกฺโกสน : (นปุ.) การด่า, การแช่ง, คำด่า, คำแช่ง, คำสบประมาท. อาปุพฺโพ, กุสฺ อกฺโกสเภทเนสุ, อ, ยุ.
  26. อกฺโกสนา : (อิต.) การด่า, การแช่ง, คำด่า, คำแช่ง, คำสบประมาท. อาปุพฺโพ, กุสฺ อกฺโกสเภทเนสุ, อ, ยุ.
  27. อติมญฺญติ : ก. หมิ่นประมาท, ดูหมิ่น, ดูถูก
  28. อปฺปคพฺภ : (วิ.) ไม่องอาจ, ไม่ว่องไว, ไม่แกล้วกล้า, ไม่มีฝีมือ, ไม่คะนองมือ, คะนองเท้า, ไม่ประมาท.
  29. อปฺปติกุฏฺฐ : ค. ไม่สบประมาท, ไม่รังเกียจ
  30. อปฺปมตฺต : ค. ๑. ไม่ประมาท, ระมัดระวัง, ตื่นอยู่; ๒. มีประมาณน้อย, ไม่สำคัญ
  31. อวญฺญาต, อวญฺญต (อุญฺญาต) : กิต. ถูกดูถูกแล้ว, ถูกสบประมาทแล้ว
  32. อวญาต : กิต. ดูถูกแล้ว, สบประมาทแล้ว
  33. อวมญฺญติ : ก. ดูหมิ่น, ดูถูก, สบประมาท
  34. อวมญฺญนา : อิต. การดูหมิ่น, การสบประมาท
  35. โอสฺสคฺค : นป. ความขาดสติ, ความไม่ตั้งใจ, ความประมาท
  36. [1-35]

(0.0077 sec)